ݺߣ
Submit Search
ทศȨยม
•
Download as ODP, PDF
•
0 likes
•
2,824 views
N
Nnid Ketkowit
Follow
1 of 18
Download now
Download to read offline
More Related Content
ทศȨยม
2.
ทศȨยม เป้าหมาย ● เปรียบเทียบและเรียงลำาดับเศษส่วนและทศȨยมไม่เกิน สองตำาแหน่ง ● เขียนเศษส่วนในรูปทศȨยมและร้อยละ เขียนร้อยละใน รูปเศษส่วนและทศȨยม และเขียนทศȨยมในรูปเศษส่วน และร้อยละ
3.
ทศȨยม คุณภาพที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ● มีความรู้ความเข้าใจและความรู้สึกเชิงจำานวนเกี่ยวกับ ทศȨยมไม่เกินสองตำาแหน่ง ● ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่าง เหมาะสม ● ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมายและการนำาเสนอได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน
4.
ทศȨยม การเปรียบเทียบ หลัก ค่าประจำาหลัก และค่าของเลขโดดใน แต่ละหลัก การเขียนทศȨยม ในรูปกระจาย การเขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วน เป็นตัวประกอบของ 10 และ
100 ในรูปทศȨยม การเขียนทศȨยม เป็นเศษส่วน การเรียงลำาดับ
5.
ค่าประจำาหลักและการเขียนในรูป กระจาย 58.14 อ่านว่า ….................. 71.01 อ่านว่า ….................. . 11.54
อ่านว่า ….................. 48.32 อ่านว่า ….................. 65.42 อ่านว่า ….................. 99.99 อ่านว่า …..................
6.
หลัก ค่าประจำาหลัก และค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของทศȨยม ไม่เกินสองตำาแหน่ง 7
2 1 5 . 6 4 หลัก หน่วย หลัก สิบ หลัก ร้อย หลัก พัน หลัก หมื่น หลัก แสน หลัก ส่วนสิบ หลัก ส่วนร้อย จุด ทศ นิยม หลักตัวเลข หน้าจุดทศȨยม หลักตัวเลข หลังจุดทศȨยม 5 อยู่ในหลักหน่วยมีค่า 57 อยู่ในหลักพัน มีค่า 70002 อยู่ในหลักร้อย มีค่า 2001 อยู่ในหลักสิบ มีค่า 10 6 อยู่ในหลักส่วนสิบมีค่าเป็น หรือ 0.64 อยู่ในหลักส่วนร้อยมีค่าเป็น หรือ 0.04
7.
การเขียนทศȨยมในรูปกระจาย 4 7 1
. 5 6 4 อยู่ในหลักร้อย มีค่า 400 7 อยู่ในหลักสิบ มีค่า 70 5 อยู่ในหลักส่วนสิบ มีค่า 0.5 1 อยู่ในหลักหน่วย มีค่า 1 6 อยู่ในหลักส่วนร้อย มีค่า 0.06 เขียนในรูปกระจาย ได้ดังนี้ 471.56 =400 + 70 + 1 + 0.5 + 0.06
8.
การเปรียบเทียบทศȨยมไม่เกินสอง ตำาแหน่ง 1.การเปรียบเทียบทศȨยมหนึ่ง ตำาแหน่งกับทศȨยมหนึ่งตำาแหน่ง การเปรียบเทียบทศȨยมหนึ่ง ตำาแหน่ง อาจใช้การเปรียบเทียบ ทีละหลักโดยเริ่มเปรียบเทียบค่า ของตัวเลขหน้าจุดทศȨยมก่อน ถ้าเท่ากันก็เปรียบเทียบค่าของ ตัวเลขหลังจุดทศȨยมจากซ้าย มือไปขวามือ เปรียบเทียบ 5.3 กับ
7.6 พิจารณา ตัวเลขหน้าจุดทศȨยม 5<7 ดังนั้น 5.3 < 7.6 เปรียบเทียบ 6.8 กับ 6.5 พิจารณา ตัวเลขหน้าจุดทศȨยม 6=6 พิจารณา ตัวเลขหน้าจุดทศȨยม 8>5 ดังนั้น 6.8>6.5
9.
การเปรียบเทียบทศȨยมไม่เกินสอง ตำาแหน่ง 2.การเปรียบเทียบทศȨยมสอง ตำาแหน่งกับทศȨยมสองตำาแหน่ง การเปรียบเทียบทศȨยมสอง ตำาแหน่ง อาจใช้การเปรียบเทียบ ทีละหลักโดยเริ่มเปรียบเทียบค่า ของตัวเลขหน้าจุดทศȨยมก่อน ถ้าเท่ากันก็เปรียบเทียบค่าของ ตัวเลขหลังจุดทศȨยมทีละหลัก จากหลักทางซ้ายมือไปขวามือ เปรียบเทียบ 12.14 กับ
8.51 พิจารณา ตัวเลขหน้าจุดทศȨยม 12>8 ดังนั้น 12.14>8.51 เปรียบเทียบ 9.61 กับ 9.65 พิจารณา ตัวเลขหน้าจุดทศȨยม 9=9 พิจารณา ตัวเลขหน้าจุดทศȨยม 6=6 พิจารณา ตัวเลขหน้าจุดทศȨยม 1<5
10.
การเปรียบเทียบทศȨยมไม่เกินสอง ตำาแหน่ง 3.การเปรียบเทียบทศȨยมหนึ่ง ตำาแหน่งกับทศȨยมสองตำาแหน่ง ทศȨยมหนึ่งตำาแหน่ง สามารถ เขียนเป็นทศȨยมสองตำาแหน่งได้ โดยเติม 0
ต่อท้ายทศȨยม ตำาแหน่งที่หนึ่งอีก 1 ตัว เช่น 0.4 = 0.40 การเปรียบเทียบทศȨยมหนึ่ง ตำาแหน่งกับทศȨยมสองตำาแหน่ง อาจทำาได้โดยเปลี่ยนทศȨยมหนึ่ง ตำาแหน่งให้เป็นทศȨยมสอง ตำาแหน่งก่อน จากนั้นจึงนำามา เปรียบเทียบกัน เปรียบเทียบ 0.5 กับ 0.54 พิจารณา เนื่องจาก 0.5 = 0.50 ดังนั้น จึงเปรียบเทียบ 0.50 กับ 0.54 ตัวเลขหน้าจุดทศȨยม 0 = 0 ตัวเลขหลังจุดทศȨยมในหลักส่วนสิบ 5 = 5 ตัวเลขหลังจุดทศȨยมในหลักส่วนร้อย 0 < 4 จะได้ 0.50 < 0.54 ดังนั้น 0.5 < 0.54
11.
การเรียงลำาดับทศȨยม ทศȨยมที่มีมากกว่า 1 จำานวน
เราสามารถนำามาเปรียบเทียบแล้ว จัดเรียงลำาดับจากทศȨยมที่มีค่ามากไปน้อย หรือจากทศȨยมที่มีค่า น้อยไปมาก เรียงลำาดับทศȨยม จากน้อยไปมาก เปรียบเทียบทั้ง 3 จำานวน พบว่า 1.09 มีค่าน้อยที่สุดและ 3.06 มีค่า มากที่สุด ดังนั้น เรียงลำาดับจาก น้อย ไป มาก ดังนี้ 1.09 2.48 3.06 3.06 1.09 2.48
12.
การเรียงลำาดับทศȨยม เรียงลำาดับทศȨยม จากมากไปน้อย เปรียบเทียบทั้ง 3
จำานวน พบว่า 2.49 มีค่ามากที่สุดและ 0.75 มีค่า น้อยที่สุด ดังนั้น เรียงลำาดับจาก มาก ไป น้อย ดังนี้ 2.49 1.25 0.75 0.75 1.25 2.49
13.
การเขียนทศȨยมไม่เกินสอง ตำาแหน่งในรูปเศษส่วน ทศȨยมหนึ่งตำาแหน่ง เทียบได้กับ เศษส่วนที่มีตัวส่วน เป็นสิบ ทศȨยมสองตำาแหน่ง
เทียบได้กับ เศษส่วนที่มีตัวส่วน เป็นร้อย
14.
1.เขียน 5.2 เป็น เศษส่วน 5.2
= 5 + 0.2 = 5 + = 2.เขียน 2.78 เป็น เศษส่วน 2.78 = 2 + 0.78 = 2 + = =
15.
การเขียนเศษส่วนที่ตัวส่วนเป็น ตัวประกอบของ 10 และ
100 ในรูป ทศȨยม
16.
1.การเขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นตัวประกอบ ของ 10 ให้อยู่ในรูปทศȨยม ในบางครั้งส่วนที่เราต้องการเปลี่ยนให้เป็นทศȨยมหนึ่ง ตำาแหน่ง
อาจมีตัวส่วนที่มีค่าน้อยกว่า 10 แต่ถ้าตัวส่วนนั้น หาร 10 ได้ลงตัว หรือมี 10 เป็นพหุคูณแล้วจะสามารถเปลี่ยน เป็นทศȨยมหนึ่งตำาแหน่ง โดยการเปลี่ยนเศษส่วนให้เป็น เศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 10 ก่อน แล้วจึงเขียนเป็นทศȨยมหนึ่ง ตำาแหน่ง
17.
2.การเขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ 100 ให้อยู่ในรูปทศȨยม การเขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ 100 สามารถเขียนเป็นทศȨยมสองตำาแหน่งได้
โดยการนำา จำานวนเต็มมาคูณตัวส่วนให้ได้ 100 แล้วเปลี่ยนจากเศษส่วน เป็นทศȨยมสองตำาแหน่ง
Download