ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
Tha203 2
ภาษา หมายถึง
วิธีที่มนุษย์ใช้แสดงความรู้สึกและสื่อความคิดให้ผู้อื่นเข้าใจ
ภาษาจาแนกตามวิธีการ แสดงออกได้2 ประเภท
วัจนภาษา คือ
(verbal communication, VC)
ภาษาที่ใช้ถ้อยคา เสียงพูดหรือเครื่องหมายแทนเสียงพูดที่
มนุษย์ตกลงใช้ร่วมกันในสังคมหน่ึง ๆ
หมายถึงการสื่อสารโดยไม่ใช้การฟัง การพูดการอ่าน ตาม
หนังสือการเขียนเป็นตัวหนังสือ หรือหมายถึงการสื่อสาร
โดยไม่ใช้ระบบคาและประโยค แบ่งออกตามประเภทดังนี้
อวัจนภาษา
(nonverbal communication, NVC)
7 ประเภท
เทศภาษา
อวัจนภาษาที่รับรู้ได้จากระยะห่างระหว่างบุคคลและ
สถานที่ที่ใช้ในการสื่อสารกัน
การโน้มตัวเดินผ่านผู้ใหญ่ให้ห่างมากที่สุดเพื่อแสดงความมีสัมมาคารวะ
ตัวอย่าง
กาลภาษา
การรับรู้จากช่วงเวลาในการสื่อสารเช่น นักศึกษาเข้าเรียนตรง
เวลาแสดงถึงความ ตั้งใจเอาใจใส่และให้เกียรติผู้สอน
เนตรภาษา
อวัจนภาษาที่รับรู้ได้จากสายตา เพื่อแสดงอารมณ์ความรู้สึกเช่น การ
หลบสายตา เพราะ กลัว หรือเขินอาย
สัมผัสภาษา
อวัจนภาษาที่รับรู้จากการสัมผัส เช่น การโอบกอด การจับมือ
อาการภาษา
อวัจนภาษาที่รับรู้จากการเคลื่อนไหวของร่างกายเช่น การไหว้การยิ้ม การเม้ม
ปาก การนั่งไขว่ห้าง การยืนเคารพธงชาติ
วัตถุภาษา
อวัจนภาษาที่รับรู้จากการเลือกใช้วัตถุเพื่อสื่อความหมาย
เช่น เครื่องประดับ การแต่งบ้าน
การมอบดอกไม้การ์ดอวยพร
ปริภาษา
อวัจนภาษาที่รับรู้ได้จากการใช้น้าเสียงแสดงออกพร้อมกับถ้อยคาเพื่อเน้นให้
เกิดความเข้าใจความหมายของถ้อยได้ชัดเจนยิ่งข้ึน ช่วยเน้นให้เห็นถึงเจตนา
หรือลักษณะของผู้ส่งสารว่าพอใจ โกรธ ฯลฯ
อวัจนภาษาที่ใช้สัมพันธ์กับวัจนภาษา
5 ลักษณะ
1. ตรงกัน
อวัจนภาษามีความหมายตรงกับถ้อยคา เช่น
การส่ายหน้าปฏิเสธพร้อมพูดว่า “ไม่ใช่ĝ
2. แย้งกัน
อวัจนภาษาที่ใช้ขัดแย้งกับถ้อยคา เช่น การกล่าวชมว่า วัน น้ีแต่งตัวสวย
แต่สายตามองที่อื่น
3. แทนกัน
อวัจนภาษาทาหน้าที่แทนวัจนภาษา
เช่น การกวักมือ แทน การเรียก
การปรบมือ แทน การกล่าวชม
5. เสริมกัน
อวัจนภาษาที่ช่วยเพิ่มหรือเสริมกันของถ้อยคา เช่น
เด็กบอกว่ารักแม่เท่าฟ้าพร้อมกับกางแขนออก
5. เน้นกัน
อวัจนภาษาช่วยเน้น หรือเพิ่มน้าหนักให้ถ้อยคา
เช่น การบังคับเสียงให้ดังหรือค่อยกว่าปกติ
ระึϸบไวยกรณ์
พยางค์ คือ เสียงที่เปล่งออกมาหนึ่งครั้งจะมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็
ได้
คา คือ เสียงที่เปล่งออกมาแล้วมีความหมาย จะมีกี่พยางค์ก็ได้
กลุ่มคา คือ คาตั้งแต่สองคาขึ้นไปมาเรียงกันและมีความหมาย
พยางค์
(SYLLABLE)
• พยางค์คือ เสียงที่เปล่งออกมา1 ครั้ง จะมีความหมาย หรือไม่มี
ความหมายก็ได้พยางค์เกิด จากการเปล่งเสียงพยัญชนะเสียงสระและ
เสียงวรรณยุกต์ตามกันออกมาอย่างกระชั้นชิด จนฟังดูเหมือนกับ
เปล่งเสียงออกมาในครั้งเดียวกัน ซึ่งเรียกว่า การประสมเสียงในภาษา
เสียงที่เกิดจากการประสมเสียง จึง เรียกว่า พยางค์
•พระยาอุปกิตศิลปะสาร (2533 : 18) กล่าวว่า
• “ถ้อยคาที่เราใช้พูดกันนั้น บางทีก็เปล่งเสียงออก ครั้งเดียว บางที
ก็หลายครั้ง เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ นั้น ท่านเรียกว่า
“พยางค์” คือ ส่วนของคาพูด”
• การประสมอักษร 3 ส่วน ได้แก่ พยางค์ที่เกิด
จากการประสม
•พยัญชนะต้น + สระ + วรรณยุกต์
•เช่น มี นา ห้า ไร่
การประสมอักษร 4 ส่วนปกติ ได้แก่ พยางค์ที่เกิดจาก
การประสม
พยัญชนะต้น + สระ + พยัญชนะตัวสะกด + วรรณยุกต์
เช่น
มาด ร้าย พลาย งาม เป็นต้น
•
การประสมอักษร 5 ส่วน ได้แก่ พยางค์ที่เกิดจากการ
ประสมของ
พยัญชนะต้น + สระ + พยัญชนะตัวสะกด + วรรณยุกต์+
การันต์
เช่น ลักษณ์ ขันธ์ สังข์ จันทร์
• กาญจนา นาคสกุล(2520 : 104) กล่าวว่า “พยางค์ หมายถึง จานวนเสียงที่ดัง
เด่น ซึ่งปรากฏ ในกลุ่มเสียงที่เรียงเป็นคาพูด เสียงอื่น ๆ ที่อยู่ข้างเคียงก็จะประกอบ
เข้าเป็นส่วนของพยางค์… โดยปกติเสียง สระเป็นเสียงที่มีลักษณะประจาตัว เป็นเสียง
ก้องที่ดังกว่าเสียงอื่น ฉะนั้น เสียงสระจึงมักจะเป็นเสียงทาให้เกิดพยางค์”
•สรุปได้ว่าพยางค์คือ เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ ซึ่งมีเสียงสระเป็นเสียง
ที่ดังเด่น 1 เสียง และเสียงที่อยู่ข้างเคียงอย่างน้อย 2 เสียง ได้แก่ เสียง
พยัญชนะและ เสียงวรรณยุกต์ พยางค์อาจจะเป็นคาก็ได้ถ้าพยางค์นั้นมี
ความหมาย ดังตัวอย่างต่อไปนี้
• นา มี 1 พยางค์ 1 คา
• นาที มี 2 พยางค์ 1 คา
• นาฬิกา มี 3 พยางค์ 1 คา
• ประกอบน้อยที่สุด 3 หน่วยเสียง มากสุดไม่เกิน 5 หน่วยเสียง
• ในคาหนึ่งพยางค์: พยัญชนะต้น / พยัญชนะเสียงควบกล้า
• แกนพยางค์หรือหน่วยเสียงสระ
• พยัญชนะท้าย
Tha203 2
เสียง ที่มีความหมาย
(พยางค์+ความหมาย)
ความหมาย๶ฉพาะของคา
ความหมายโดยตรง
• เด็ก ๆ ไม่ชอบแม่มดในนิทานเลย
• ฉันชอบกินก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นหมู
• ในคลองหน้าบ้านคุณยายมีปลาซิวมากมาย
ความหมายโดยนัย (ความหมายเชิงอุปมา)
• วันนี้ยายแม่มดไม่มาทางาน
• ข้อสอบวิชาภาษาไทยหมูจนน่าเกลียด
• ฉันชอบเพลงใจปลาซิวมาก ๆ เลย
ความหมายแฝง
• ร่วง ตกหล่น
• ลิ่วปลิว ฉิว
• เซ เกเฉเบ้โยเย้
ความหมายตามบริบท
•คากริยา ติด มีความหมายว่า ใกล้ แปะฯลฯ
•ไฟบางดวง ติด บางดวงดับ
•บ้านเราอยู่ ติด กัน
•ติดรูปบนบัตรให้เรียบร้อย
•ฉันติดกาแฟมานานแล้ว
ความหมายนัยประหวัด
คาที่ไม่ได้แปลความหมายตรงตัว /คาที่มีความหมายโดยนัย /คาที่มี
ความโดยอุปมา
• ดาว หมายถึง บุคคลที่เด่นในทางใดทางหนึ่ง
• เก้าอี้ หมายถึง ตาแหน่ง
• เพชร หมายถึง บุคคลที่มีคุณค่า
• นกขมิ้น หมายถึง คนเร่ร่อน ไม่มีที่พานักเป็นหลักแหล่ง
• กา หมายถึง ความต่าต้อย
ความหมายของคาเมื่อเทียบเคียงกับคาอื่น
คา ที่มีความหมายเหมือนกัน (คาไวพจน์)
สุนัข - หมา
เท้า –ตีน
ภรรยา – เมีย
ดวงอาทิตย์ – พระอาทิตย์ – ทินกร – ไถง – สุรีย์
ให้นักศึกษาคิดคาไวพจน์ อย่างน้อย 20 คา
คาที่มีความหมายตรงกัน ข้าม
• สะอาด – สกปรก
• เชื่องช้า –ว่องไว
คาที่มีความหมายร่วมกัน
• ส่งเสริม – สนับสนุน
• โปรด–กรุณา
• ตัด–ปาด–แล่– หั่น–ฝาน
• แผ่–เผยแผ่–แพร่– เผยแพร
คาที่มีความหมายแคบ – กว้างต่างกัน
เครื่องครัว กระทะ จาน ชาม เขียงฯลฯ
เครื่องประดับ แหวน สร้อย กาไล ฯลฯ
สัตว์ ช้าง ม้า วัว ควาย อึ่งอ่าง คางคก
Tha203 2
ประโยค
คือถ้อยคาที่มีเนื้อความสมบูรณ์
2 ส่วนคือภาคประธานและภาคแสดง
ภาคประธาน คือส่วนที่เป็นผู้กระทากริยาอาการ
ภาคแสดง คือส่วนที่แสดงกริยาหรือส่วนที่
แสดงอาการของภาคประธานให้ได้ความ
สมบูรณ์อาจประกอบด้วยกริยคาเดียวหรือ
กริยาและกรรม
นกบิน นก
(ภาคประธาน) บิน (ภาคแสดง)
หมากัดแมว
หมา (ภาคประธาน) กัด (ภาคแสดง) และแมว (กรรม)
การจาแȨประโยคในภาษาไทย
ประโยคความเดียวคือประโยคที่มีใจความเดียว; ประกอบด้วยภาคประธาน
และภาคแสดงเช่น
- เขาร้องไห้- เด็กนอน
- นักศึกษาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารทุกชั้นปี ร่วมกันจัดนิทรรศการ
ประโยคความรวม
คือประโยคที่รวมเอาประโยคความเดียว ๒ ประโยคขึ้นไปไวด้ว้ยกัน โดยมี
สันธานเชื่อม ประโยคประโยคที่รวมกัน
•คล้อยตามกัน (และแล้ว.....จึงเมื่อ.....จึงพอ.....ก็ทั้ง.....และ)
• ขัดแย้งกัน (แต่ ส่วน กว่า .....ก็ แม.้้ ....ก็ ถึง.....ก็)
•ให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง (หรือมิฉะนั้นไม่.....ก็.....)
•เป็นเหตุเป็นผลกัน (เพราะ..... เนื่องจาก.....จึง ดัง้นัน.....จึง)
เช่น
• ฉันไปดูหนังและทานอาหารที่สยามสแควร์จากนั้นก็กลับบ้าน
• กว่า ฉันจะรักเขา เขาก็จากฉันไปแล้ว
• เธอต้องตั้งใจเรียนมิฉะนั้นจะสอบตก
ประโยคความซ้อน : ประโยคที่มีประโยคย่อยเป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของ
ประโยคหลัก
• ฉันเห็นคนถูกรถชนกลางถนน
-ฉันเห็น --ประธาน+กริยา
- คนถูกรถชนกลางถนน - - กรรม –
• คนขายดอกไม้เป็นป้าของฉัน
• แม่เห็นลูกอ่านหนังสือ
• ผู้พิพากษาที่ฉันเคารพเป็นคนดีมาก
• คนไทยหวงแหนแผ่นดินไทยอันเป็นแผ่นดินเกิด
• พ่อทางานหนักจนล้มป่วย
• แม่สั่งให้ฉันรีบกลับบ้าน
Tha203 2
SEE U NEXT WEEK ^^

More Related Content

What's hot (20)

PDF
กิตติกรรมประกาศ
Pa'rig Prig
PDF
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
Suppakuk Clash
PDF
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
sripayom
PDF
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
Somporn Amornwech
PDF
แบบทึϸอบหลัง๶รียน๶รื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณม.4
Sivagon Soontong
PDF
ตัวอย่างชื่อโครงงาȨิทยาศาสตร์
Jiraporn
PDF
แบบฝึกทักษะการ๶ขียน๶รียงความ
sripayom
PDF
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสȨิ
Surapong Klamboot
PDF
แบบฝึกหัึϸัดสระไทย
ศักดา สถานสุข
PDF
ขนมไทย
Chainarong Maharak
PDF
การจัดโครงสร้างสถาȨึกษา
Udomchai Boonrod
PDF
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
อัมพร ศรีพิทักษ์
DOCX
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
Mypoom Poom
PDF
กล้วยบวชชี
Toeyy Piraya
DOCX
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
Tong Thitiphong
PDF
ระบบหมุน๶วียน๶ลือด
Thitaree Samphao
DOC
กรอกประวัติส่วȨัว
vorravan
PDF
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
sripayom
PDF
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
Suricha Phichan
PDF
ʱʰออมไว้ใส่ถุงแดง
KruBowbaro
กิตติกรรมประกาศ
Pa'rig Prig
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
Suppakuk Clash
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
sripayom
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
Somporn Amornwech
แบบทึϸอบหลัง๶รียน๶รื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณม.4
Sivagon Soontong
ตัวอย่างชื่อโครงงาȨิทยาศาสตร์
Jiraporn
แบบฝึกทักษะการ๶ขียน๶รียงความ
sripayom
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสȨิ
Surapong Klamboot
แบบฝึกหัึϸัดสระไทย
ศักดา สถานสุข
ขนมไทย
Chainarong Maharak
การจัดโครงสร้างสถาȨึกษา
Udomchai Boonrod
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
อัมพร ศรีพิทักษ์
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
Mypoom Poom
กล้วยบวชชี
Toeyy Piraya
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
Tong Thitiphong
ระบบหมุน๶วียน๶ลือด
Thitaree Samphao
กรอกประวัติส่วȨัว
vorravan
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
sripayom
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
Suricha Phichan
ʱʰออมไว้ใส่ถุงแดง
KruBowbaro

Similar to Tha203 2 (20)

PDF
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
PDF
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
PDF
ธรรมชาติของภาษา
kingkarn somchit
PPT
ธรรมชาติของภาษา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PDF
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
Aj.Mallika Phongphaew
PDF
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
โรงเรียนประชาบำรุง อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
PPTX
Tha203 3
SasiwimolKongsuwan
PDF
สรุปเนื้อหา ติว
Ruangrat Watthanasaowalak
PDF
Week 2 of WS4T
Watcharapol Wiboolyasarin
PDF
ลักษณะภาษาไทย
kruthai40
PDF
แบบเรียนชนิดของคำ
Ladawan Munchit
PDF
Week 3 of WS4T
Watcharapol Wiboolyasarin
PDF
9789740335610
CUPress
PDF
ภาษา๶พื่อการสื่อสาร4
คนไม่สวยผิดเสมอ คนขี้เหงา
PPTX
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
Anan Pakhing
PPTX
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
Thanit Lawyer
PPTX
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
Thanit Lawyer
PPTX
PowerPoint Presentation
VisualBee.com
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
ธรรมชาติของภาษา
kingkarn somchit
ธรรมชาติของภาษา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
Aj.Mallika Phongphaew
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
โรงเรียนประชาบำรุง อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
สรุปเนื้อหา ติว
Ruangrat Watthanasaowalak
ลักษณะภาษาไทย
kruthai40
แบบเรียนชนิดของคำ
Ladawan Munchit
9789740335610
CUPress
ภาษา๶พื่อการสื่อสาร4
คนไม่สวยผิดเสมอ คนขี้เหงา
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
Anan Pakhing
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
Thanit Lawyer
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
Thanit Lawyer
PowerPoint Presentation
VisualBee.com
Ad

More from SasiwimolKongsuwan (8)

Ad

Tha203 2