ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
วิธีสร้าง เปิดโปรแกรม ฐานข้อมูลที่สร้างไว้จะปรากฏหน้าต่างฐานข้อมูลขึ้นมา
           1.   คลิกแท็บสร้าง
           2.   คลิกเลือกออกแบบตาราง
           3.   จะได้ตารางในมุมมองออกแบบ
           4.   กาหนดอย่างน้อยหนึ่งเขตข้อมูลโดยใส่ชื่อเขตข้อมูลและเลือกชนิดข้อมูล
           5.   บันทึกและตั้งชื่อ ตาราง“ฐานข้อมูลนักเรียน”
หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
กาหนึϸิลึϹและโครงสร้างฐาȨ้อมูลให้กับตารางซึ่งมีขั้นตอȨังȨ้
       6.1. ตั้งชื่อให้กับฟิลด์ ลงในช่อง ชื่อเขตข้อมูล ตัวอย่าง ตั้งชื่อเลขประจาตัวนักเรียน
       6.2. เลือกชนิดของข้อมูล จากช่อง ชนิดข้อมูลตัวอย่างเลือกชนิดของข้อมูลเป็น Text
       6.3. พิมพ์คาอธิบายชื่อฟิลด์ลงในช่องคาอธิบาย
       6.4. บริเวณด้านล่างของหน้าต่าง เป็นบริเวณที่ใช้กาหนดคุณสมบัติของฟิลด์ตัวอย่างปรับฟิลด์
นี้ในช่อง ขนาดเขตข้อมูลโดยกาหนดตัวเลขคือ 6 (ให้พิจารณาจากจานวนตัวอักษรมากที่สุดของเขต
ข้อมูลนั้นๆ เช่นเลขบัตรประจาตัวประชาชนมี 13 ตัว ก็กาหนดขนาดเขตข้อมูล เป็น 13 หรือ
มากกว่านั้นตามสมควร)
หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
7. การกาหนดคีย์หลัก (Primary Key) มีขั้นตอนดังนี้
         1. คลิกฟิลด์ที่ต้องการสร้างเป็นคีย์หลัก
         2. คลิกสัญลักษณ์
         3. จะมีรูปกุญแจปรากฏ
การกาหนดคุณสมบัติของเขตข้อมูล ทาได้ดังนี้
     1. เปิดตารางในมุมมองออกแบบ
     2. คลิกที่เขตข้อมูลที่ต้องการกาหนดคุณสมบัติ โปรแกรม Microsoft office Access
จะแสดงคุณสมบัติของเขตข้อมูลที่ส่วนล่างของหน้าต่างตาราง
     3. คลิกเลือกคุณสมบัติเขตข้อมูลที่ต้องการกาหนด แก้ไขคุณสมบัติหรือเลือกรายการตามที่
ต้องการ
หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
การใช้งาȨุมมองแผ่Ȩ้อมูล(ٲٲ)
   1. ดับเบิ้ลคลิกที่ตารางทีต้องการ
                            ่




   2. ข้อมูลที่เก็บอยู่ในตารางจะถูกแสดงในรูปแบบของตารางโดยมีชื่อฟิลด์อยู่ที่หัวตารางในแต่ละคอลัมน์ผู้ใช้
สามารถบันทึกข้อมูลลงไปในแต่ละฟิลด์ได้เลย
ความสัมพันธ์ระหว่างตารางข้อมูล (Table Data Relationships)
           ความสัมพันธ์ระหว่างตารางฐานข้อมูลแบบหนึ่งต่อหนึ่ง หมายถึงมีฟิลด์ข้อมูล 1 ฟิลด์
ที่จับคู่กัน
           ความสัมพันธ์ระหว่างตารางฐานข้อมูลแบบหนึ่งต่อกลุ่ม หมายถึงมีฟิลด์ข้อมูล 1 ฟิลด์
ที่จับคู่กับฟิลด์ข้อมูลหลายฟิลด์ในตารางอื่น แต่ฟิลด์ในตารางนั้นจับคู่ได้เพียงแค่ฟิลด์เดียว
           ความสัมพันธ์ระหว่างตารางฐานข้อมูลแบบกลุ่มต่อกลุ่ม หมายถึงมีฟิลด์ข้อมูลหลายฟิลด์ที่จับคู่
กันระหว่างตาราง
ความสัมพันธ์หนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One Relationships)
            เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในแอนทิตที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกแอนทิตี้หนึ่ง ใน
                                                           ี้
ลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ผู้เช่า 1 คนสามารถเช่าหนังสือได้เพียง 1 เล่ม หรือ 1 ชุดเท่านั้น ในขณะเดียวกัน
หนังสือ 1 เล่ม หรือ 1 ชุด ก็จะมีผู้เช่าเพียงคนเดียว เพราะมีเพียงเล่มเดียวเท่านั้น
ความสัมพันธ์แบบหนื่งต่อกลุ่ม(One –to-Many Relationships)
             เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในแอนทิตหนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายๆข้อมูลใน
                                                          ี้
แอนทิตหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ผู้เช่า 1 คนสามารถเช่าหนังสือได้เพียง 1 เล่มหรือ 1 ชุด แต่หนังสือรหัสเดียวกันสามารถ
          ี้
มีผู้เช่ามากกว่า 1คน เพราะมีหนังสือให้เช่ามากกว่า 1 เล่มหรือมากกว่า 1 ชุด
ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationships)
                 เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองแอนทิตในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม ตัวอย่างเช่น หนังสือ 1
                                                              ี้
เรื่องจะมีผู้ยืมหนังสือได้มากกว่า 1 คน ในขณะเดียวกันผู้ยืมหนังสือ 1 คน ก็สามารถยืมหนังสือได้มากกว่า 1 เรื่อง
เนื้อหาจบแล้ว ต่อไปให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
        เมื่อทาแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3 เสร็จแล้ว
          ให้นักเรียนศึกษา หน่วยที่ 4 ต่อไป

More Related Content

หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง

  • 2. วิธีสร้าง เปิดโปรแกรม ฐานข้อมูลที่สร้างไว้จะปรากฏหน้าต่างฐานข้อมูลขึ้นมา 1. คลิกแท็บสร้าง 2. คลิกเลือกออกแบบตาราง 3. จะได้ตารางในมุมมองออกแบบ 4. กาหนดอย่างน้อยหนึ่งเขตข้อมูลโดยใส่ชื่อเขตข้อมูลและเลือกชนิดข้อมูล 5. บันทึกและตั้งชื่อ ตาราง“ฐานข้อมูลนักเรียน”
  • 4. กาหนึϸิลึϹและโครงสร้างฐาȨ้อมูลให้กับตารางซึ่งมีขั้นตอȨังȨ้ 6.1. ตั้งชื่อให้กับฟิลด์ ลงในช่อง ชื่อเขตข้อมูล ตัวอย่าง ตั้งชื่อเลขประจาตัวนักเรียน 6.2. เลือกชนิดของข้อมูล จากช่อง ชนิดข้อมูลตัวอย่างเลือกชนิดของข้อมูลเป็น Text 6.3. พิมพ์คาอธิบายชื่อฟิลด์ลงในช่องคาอธิบาย 6.4. บริเวณด้านล่างของหน้าต่าง เป็นบริเวณที่ใช้กาหนดคุณสมบัติของฟิลด์ตัวอย่างปรับฟิลด์ นี้ในช่อง ขนาดเขตข้อมูลโดยกาหนดตัวเลขคือ 6 (ให้พิจารณาจากจานวนตัวอักษรมากที่สุดของเขต ข้อมูลนั้นๆ เช่นเลขบัตรประจาตัวประชาชนมี 13 ตัว ก็กาหนดขนาดเขตข้อมูล เป็น 13 หรือ มากกว่านั้นตามสมควร)
  • 6. 7. การกาหนดคีย์หลัก (Primary Key) มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกฟิลด์ที่ต้องการสร้างเป็นคีย์หลัก 2. คลิกสัญลักษณ์ 3. จะมีรูปกุญแจปรากฏ
  • 7. การกาหนดคุณสมบัติของเขตข้อมูล ทาได้ดังนี้ 1. เปิดตารางในมุมมองออกแบบ 2. คลิกที่เขตข้อมูลที่ต้องการกาหนดคุณสมบัติ โปรแกรม Microsoft office Access จะแสดงคุณสมบัติของเขตข้อมูลที่ส่วนล่างของหน้าต่างตาราง 3. คลิกเลือกคุณสมบัติเขตข้อมูลที่ต้องการกาหนด แก้ไขคุณสมบัติหรือเลือกรายการตามที่ ต้องการ
  • 9. การใช้งาȨุมมองแผ่Ȩ้อมูล(ٲٲ) 1. ดับเบิ้ลคลิกที่ตารางทีต้องการ ่ 2. ข้อมูลที่เก็บอยู่ในตารางจะถูกแสดงในรูปแบบของตารางโดยมีชื่อฟิลด์อยู่ที่หัวตารางในแต่ละคอลัมน์ผู้ใช้ สามารถบันทึกข้อมูลลงไปในแต่ละฟิลด์ได้เลย
  • 10. ความสัมพันธ์ระหว่างตารางข้อมูล (Table Data Relationships) ความสัมพันธ์ระหว่างตารางฐานข้อมูลแบบหนึ่งต่อหนึ่ง หมายถึงมีฟิลด์ข้อมูล 1 ฟิลด์ ที่จับคู่กัน ความสัมพันธ์ระหว่างตารางฐานข้อมูลแบบหนึ่งต่อกลุ่ม หมายถึงมีฟิลด์ข้อมูล 1 ฟิลด์ ที่จับคู่กับฟิลด์ข้อมูลหลายฟิลด์ในตารางอื่น แต่ฟิลด์ในตารางนั้นจับคู่ได้เพียงแค่ฟิลด์เดียว ความสัมพันธ์ระหว่างตารางฐานข้อมูลแบบกลุ่มต่อกลุ่ม หมายถึงมีฟิลด์ข้อมูลหลายฟิลด์ที่จับคู่ กันระหว่างตาราง
  • 11. ความสัมพันธ์หนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในแอนทิตที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกแอนทิตี้หนึ่ง ใน ี้ ลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ผู้เช่า 1 คนสามารถเช่าหนังสือได้เพียง 1 เล่ม หรือ 1 ชุดเท่านั้น ในขณะเดียวกัน หนังสือ 1 เล่ม หรือ 1 ชุด ก็จะมีผู้เช่าเพียงคนเดียว เพราะมีเพียงเล่มเดียวเท่านั้น
  • 12. ความสัมพันธ์แบบหนื่งต่อกลุ่ม(One –to-Many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในแอนทิตหนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายๆข้อมูลใน ี้ แอนทิตหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ผู้เช่า 1 คนสามารถเช่าหนังสือได้เพียง 1 เล่มหรือ 1 ชุด แต่หนังสือรหัสเดียวกันสามารถ ี้ มีผู้เช่ามากกว่า 1คน เพราะมีหนังสือให้เช่ามากกว่า 1 เล่มหรือมากกว่า 1 ชุด
  • 13. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองแอนทิตในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม ตัวอย่างเช่น หนังสือ 1 ี้ เรื่องจะมีผู้ยืมหนังสือได้มากกว่า 1 คน ในขณะเดียวกันผู้ยืมหนังสือ 1 คน ก็สามารถยืมหนังสือได้มากกว่า 1 เรื่อง
  • 14. เนื้อหาจบแล้ว ต่อไปให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3 เมื่อทาแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3 เสร็จแล้ว ให้นักเรียนศึกษา หน่วยที่ 4 ต่อไป