ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
ท่านเป็นศึกษานิเทศก์ซึ่งรับผิดชอบหน้าที่ในการพัฒนาครูเกี่ยวกับการ ออกแบบและผลิตสื่อวันหนึ่งมีครูสองคนมาปรึกษาว่าจะมีวิธีการที่ทาให้รู้ว่าสื่อ ที่สร้างขึ้นมานั้นมีคุณภาพได้อย่างไร ซึ่ง 
มีรายละเอียดดังนี้ 
ครูสายใจเป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน 
ครูสมหญิงเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
ครูมาโนชเป็นสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้ 
ครูประพาสเป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วย สอนเพื่อใช้ในการเรียนของตนเอง 
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
ภารกิจที่ 1 
เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้ สอดคล้องกับลักษณะของสื่อของครูแต่ ละคนพร้อมทั้งให้เหตุผล
ครูสายใจ 
วิธีการประเมินคุณภาพชุดการสอนที่สอดคล้องกับครูสายใจ 
คือ การทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 
การทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 เป็นแนวคิดการประเมินที่ เกิดขึ้นเพื่อประเมินประสิทธิภาพของชุดการสอนและสื่อการสอนประเภทต่างๆ ยกเว้น บทเรียน โปรแกรม ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่ต้องการประเมินผลพฤติกรรมของผู้เรียน ใน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมต่อเนื่อง (กระบวนการ) และพฤติกรรมสุดท้าย (ผลลัพธ์) โดยกาหนด ค่าประสิทธิภาพเป็น E1 (ประสิทธิภาพของกระบวนการ) E2 (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์) นิยาม ประสิทธิภาพ E1/E2 
E1 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทากิจกรรมระหว่างเรียนจากชุดการสอน หรือสื่ออื่นๆ ของผู้เรียน (ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้) 
E2 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทาแบบทดสอบหลังการเรียนของผู้เรียน (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้)
คานวณโดยการใช้สูตร 
E1 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้ 
ΣX หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน (N คน) 
N หมายถึง จานวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอนครั้งนี้ 
A หมายถึง คะแนนเต็มของกิจกรรมระหว่างเรียน
E2 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้ 
ΣF หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน (N คน) 
N หมายถึง จานวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอน ครั้งนี้ 
B หมายถึง คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน 
คานวณโดยการใช้สูตร
ครูสมหญิง 
วิธีการประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับครู สมหญิง คือ 
การออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
ในการออกแบบตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ จะ ทาการตรวจสอบการออกแบบการสอนที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่ง นาหลักการสาคัญของCognitive constructivism ของ Piajet และ Social constructivism ของ Vygotsky มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ หรือเรียกว่า การ นาทฤษฎีสู่การปฏิบัติ ที่อยู่ในลักษณะองค์ประกอบที่สาคัญ ได้แก่ สถานการณ์ ปัญหา ธนาคารความรู้ ฐานการช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก้ปัญหา ดัง รายละเอียด ต่อไปนี้
ครูสมหญิง 
1.การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้โดยการปฏิบัติจริง 
2.เปิดโอกาสให้ผู้เรียนควบคุมการเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง (Learner control) 
3.สถานการณ์ปัญหากระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเสาะแสวงหา ความรู้ หรือค้นหา ค้นพบคาตอบด้วยตนเอง 
4.ระดับภาระกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการ คิดขั้นสูงภาระกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองประเด็น ปัญหาที่ต้องการค้นหาคาตอบ 
5.ธนาคารความรู้ (Resource) มีการออกแบบที่สนับสนุนข้อมูลให้ผู้เรียน สามารถค้นหาสารสนเทศจากแหล่งต่างๆอย่างหลากหลาย เพื่อนามาใช้ในการ แก้สถานการณ์ปัญหาที่กาหนดให้รวมทั้งช่วยสนับสนุนในการสร้างความรู้ของ ผู้เรียน
ครูสมหญิง 
6. เครื่องมือทางปัญญา (Cognitive tool) ในการเรียน กระตุ้นกระบวนการคิดของ ผู้เรียนและเกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการเรียน 
7.ฐานการช่วยเหลือ (scaffolding) ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ความพยายามในการเรียนรู้ 
8.กรณีใกล้เคียง (Related case) ส่งเสริมให้ผู้เรียนเชื่อมโยงประสบการณ์ที่ เกี่ยวข้องมาใช้ในการแก้ปัญหาได้ 
9.ห้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการออกแบบที่สนับสนุนให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียน รู"แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาร่วมกัน 
10.การโค้ช (coaching) โดยครูผู้สอนทาการวิเคราะห์ผู้เรียน สามารถสื่อสารและ สะท้อนผลเกี่ยวกับผู้เรียนในกระบวนการเรียนรู้ และกระตุ้นให้ผู้เรียนกระทาภารกิจการ เรียนรู้อย่างตื่นตัว
ครูมาโนช 
วิธีการประเมินคุณภาพชุดการสร้างความรู้ที่สอดคล้องกับครูมาโนช 
คือ 
มีหลักการสาคัญที่นามาเป็นพื้นฐานในการพิจารณาคุณลักษณะของสื่อดังนี้ 
1 การนาเสนอเนื้อหาที่ดึงดูดความใส่ใจของผู้เรียน ได้แก่ การใช้ตัวหนังสือที่มีการเน้นด้วยสี การนาเสนอด้วยภาพนิ่ง 
2 การออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะ มีความเหมาะสม สะดุดตา น่าสนใจ 
3 ภาพประกอบมีความสอดคล้องกับเนื้อหาและส่งเสริมการเรียนรู 
ขนาดของตัวอักษรที่ใช้มีความสอดคล้องกับเนื้อหา 
4 การใช้ขนาดตัวอักษรเหมาะกับผู้เรียน มีจุดดึงดูดความสนใจและอ่านง่าย 
5 ภาพกราฟิกที่ใช้ประกอบ มีความเหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อหา และทาให้สามารถเรียนรู้ได้ ดีและง่ายมากยิ่งขึ้น 
6 การใช้สีมีความเหมาะสม กลมกลืน ดึงดูดความสนใจ
ครูประพาส 
วิธีการประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สอดคล้องกับครูประพาส คือ 
การประเมินโดยอาศัยเกณฑ์ 
เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 เป็นวิธีการที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อประเมินประสิทธิภาพของ บทเรียนโปรแกรม มีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้แบบรอบรู้ (Mastery learning) นิยามของเกณฑ์ มาตรฐาน 90/90 นั้นได้อธิบายไว้ว่า 
90 ตัวแรกเป็นคะแนนของทั้งกลุ่ม ซึ่งหมายถึงนักเรียนทุกคน เมื่อสอนครั้งหลังเสร็จให้คะแนน เสร็จ นาคะแนนมาหาค่าร้อยละให้หมดทุกคะแนน แล้วหาค่าร้อยละเฉลี่ยของทั้งกลุ่ม ถ้า บทเรียนโปรแกรมถึงเกณฑ์ค่าร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มจะต้องเป็น 90 หรือสูงกว่า (เปรื่อง กุมุท, 2519) 
90 ตัวที่สองแทนคุณสมบัติที่ว่า ร้อยละ 90 ของนักเรียนทั้งหมด ได้รับผลสัมฤทธิ์ตามมุ่งหมาย แต่ละข้อ และทุกข้อของบทเรียนโปรแกรม
ครูประพาส 
วิธีการคานวณค่าประสิทธิภาพสื่อ 
1. สร้างตารางบันทึกผลการสอบหลังเรียน โดยนาผลการทดสอบหลังเรียน ของผู้เรียนมาบันทึกค่าคะแนนไปในแต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนดไว้ 
2. ตรวจผลการสอบของผู้เรียนแต่ละคน ดาเนินการตรวจผลการสอบว่า ผู้เรียนแต่ละคนได้คะแนนจากการสอบหลังเรียนกี่คะแนน 
3. พิจารณาผลการสอบว่าผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนดไว้ในวัตถุประสงค์เชิง พฤติกรรมเท่าใด ดาเนินการพิจารณาผู้เรียนเป็นรายบุคคลว่ามีวัตถุประสงค์ ใดบ้างที่ผ่านและไม่ผ่านเกณฑ์
Text in here 
ครูประพาส 
4. คานวณประสิทธิภาพโดยใช้สูตรคานวณดังนี้ 
90 ตัวแรก ={(ΣX /N) X 100)}/R 
90 ตัวแรก หมายถึง จานวนร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน 
ΣX หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบที่ผู้เรียนแต่ละคน ทาได้ถูกต้องจาก การทดสอบหลังเรียน 
N หมายถึง จานวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคา นวณ ประสิทธิภาพครั้งนี้ 
R หมายถึง จานวนคะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน 
90 ตัวหลัง = (Y x 100)/ N 
90 ตัวหลัง หมายถึง จานวนร้อยละของผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบผ่านทุก วัตถุประสงค์ 
Y หมายถึง จานวนผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์ 
N หมายถึง จานวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคานวณประสิทธิภาพครั้งนี้
Your text 
in here 
Your text 
in here 
ภารกิจที่ 2 
อธิบายข้อจากัดของการประเมินสื่อ การสอน
ข้อจากัดของการประเมินสื่อการสอน 
Your text 
in here 
การประเมินประสิทธิภาพของสื่อการสอนมีขั้นตอนการหา ประสิทธิภาพเริ่มตั้งแต่ การทดลองแบบกลุ่มต่อหนึ่ง (One to one testing) แล้วนาสื่อมาทดลองกับกลุ่มเล็ก (Small group testing) และ ท้ายสุดทาการทดลองภาคสนาม (Field testing) และอาจใช้วิธีการหา ค่าประสิทธิภาพกระบวนการ (E1)/ผลลัพธ์ (E2) หรืออาจใช่วิธีการหา ค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness index หรือ E.I.) ค่าประสิทธิภาพ ดังกล่าว ล้วนแต่เป็นค่าที่ได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ซึ่ง จะได้เป็นเพียงเฉพาะค่าคะแนนที่เป็นตัวเลขเชิงปริมาณเท่านั้น
เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการ ประเมินสื่อการสอน สื่อการเรียนรู้และ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
ภารกิจที่ 3 
Your text 
in here 
Your text 
in here
การประเมินสื่อการสอน 
Your text 
in here 
Your text 
in here 
หมายถึง การนาผลจากการวัดผลสื่อการเรียนการสอน มาตีความหมาย (Interrelation) และตัดสินคุณค่า (Value Judgment) เพื่อที่จะรู้ว่าสื่อนั้นทาหน้าที่ ตามที่วัตถุประสงค์กาหนดไว้ได้แค่ไหน มีคุณภาพดีหรือไม่ดีเพียงใด มีลักษณะ ถูกต้องตรงตามที่ต้องการหรือไม่ ประการใด 
จะเห็นว่า การประเมินผลสื่อการเรียนการสอน กระทาได้โดยการ พิจารณาข้อมูลที่ได้จากการวัดผลสื่อนั้นเทียบกับวัตถุประสงค์ ที่กาหนดไว้ ข้อมูล ที่ได้จากการวัดผลสื่อจึงมีความสาคัญ การวัดผลจึงต้องกระทาอย่างมีหลักการ เหตุผลและเป็นระบบเพื่อที่จะได้ข้อมูล ที่เที่ยงตรง สามารถบอกศักยภาพของสื่อ ได้ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงเพื่อประโยชน์ของการ ประเมินผลสื่ออย่าง เที่ยงตรงต่อไป
การประเมินสื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
Your text 
in here 
Your text 
in here 
เป็นการประเมินที่อาศัยข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นค่าคะแนนหรือตัวเลข ตลอดจนสัญลักษณ์ของสื่อที่พิจารณาคุณลักษณะของสื่อในลักษณะภาพ เสียง ที่ส่งผลต่อการประมวลสารสนเทศในกระบวนการรู้คิดของผู้เรียนรวมทั้งยังอาศัย ข้อมูลเชิงคุณภาพซึ่งจะช่วยให้สามารถนามาปรับปรุงสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้หรือ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้มีคุณภาพหรือมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น 
หลักการสาคัญที่ควรพิจารณา 
1.การประเมินด้านผลผลิต 
2.การประเมินบริบทการใช้ 
3.การประเมินด้านความคิดเห็น 
4.การประเมินด้านความสามารถทางสติปัญญา 
5.การประเมินผลสัมฤทธิ์
สมาชิกในกลุ่ม 
Your text 
in here 
Your text 
in here 
1.นางสาวกานต์นภัทร เฮงสวัสดิ์ 563050067-0 
2.นางสาวกิตติมา เสาร์ทอง 563050070-1 
3.นางสาวจิตธนา รัตนดี 563050346-6 
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา 
ชั้นปีที่ 2
Thank you! 
Contact Address: 
Prof. Somchai Doe 
Tel: 
Email: 
www.kku.ac.th

More Related Content

Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้

  • 2. ท่านเป็นศึกษานิเทศก์ซึ่งรับผิดชอบหน้าที่ในการพัฒนาครูเกี่ยวกับการ ออกแบบและผลิตสื่อวันหนึ่งมีครูสองคนมาปรึกษาว่าจะมีวิธีการที่ทาให้รู้ว่าสื่อ ที่สร้างขึ้นมานั้นมีคุณภาพได้อย่างไร ซึ่ง มีรายละเอียดดังนี้ ครูสายใจเป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน ครูสมหญิงเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ครูมาโนชเป็นสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้ ครูประพาสเป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วย สอนเพื่อใช้ในการเรียนของตนเอง สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
  • 3. ภารกิจที่ 1 เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้ สอดคล้องกับลักษณะของสื่อของครูแต่ ละคนพร้อมทั้งให้เหตุผล
  • 4. ครูสายใจ วิธีการประเมินคุณภาพชุดการสอนที่สอดคล้องกับครูสายใจ คือ การทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 การทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 เป็นแนวคิดการประเมินที่ เกิดขึ้นเพื่อประเมินประสิทธิภาพของชุดการสอนและสื่อการสอนประเภทต่างๆ ยกเว้น บทเรียน โปรแกรม ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่ต้องการประเมินผลพฤติกรรมของผู้เรียน ใน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมต่อเนื่อง (กระบวนการ) และพฤติกรรมสุดท้าย (ผลลัพธ์) โดยกาหนด ค่าประสิทธิภาพเป็น E1 (ประสิทธิภาพของกระบวนการ) E2 (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์) นิยาม ประสิทธิภาพ E1/E2 E1 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทากิจกรรมระหว่างเรียนจากชุดการสอน หรือสื่ออื่นๆ ของผู้เรียน (ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้) E2 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทาแบบทดสอบหลังการเรียนของผู้เรียน (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้)
  • 5. คานวณโดยการใช้สูตร E1 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้ ΣX หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน (N คน) N หมายถึง จานวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอนครั้งนี้ A หมายถึง คะแนนเต็มของกิจกรรมระหว่างเรียน
  • 6. E2 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้ ΣF หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน (N คน) N หมายถึง จานวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอน ครั้งนี้ B หมายถึง คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน คานวณโดยการใช้สูตร
  • 7. ครูสมหญิง วิธีการประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับครู สมหญิง คือ การออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ในการออกแบบตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ จะ ทาการตรวจสอบการออกแบบการสอนที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่ง นาหลักการสาคัญของCognitive constructivism ของ Piajet และ Social constructivism ของ Vygotsky มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ หรือเรียกว่า การ นาทฤษฎีสู่การปฏิบัติ ที่อยู่ในลักษณะองค์ประกอบที่สาคัญ ได้แก่ สถานการณ์ ปัญหา ธนาคารความรู้ ฐานการช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก้ปัญหา ดัง รายละเอียด ต่อไปนี้
  • 8. ครูสมหญิง 1.การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้โดยการปฏิบัติจริง 2.เปิดโอกาสให้ผู้เรียนควบคุมการเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง (Learner control) 3.สถานการณ์ปัญหากระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเสาะแสวงหา ความรู้ หรือค้นหา ค้นพบคาตอบด้วยตนเอง 4.ระดับภาระกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการ คิดขั้นสูงภาระกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองประเด็น ปัญหาที่ต้องการค้นหาคาตอบ 5.ธนาคารความรู้ (Resource) มีการออกแบบที่สนับสนุนข้อมูลให้ผู้เรียน สามารถค้นหาสารสนเทศจากแหล่งต่างๆอย่างหลากหลาย เพื่อนามาใช้ในการ แก้สถานการณ์ปัญหาที่กาหนดให้รวมทั้งช่วยสนับสนุนในการสร้างความรู้ของ ผู้เรียน
  • 9. ครูสมหญิง 6. เครื่องมือทางปัญญา (Cognitive tool) ในการเรียน กระตุ้นกระบวนการคิดของ ผู้เรียนและเกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการเรียน 7.ฐานการช่วยเหลือ (scaffolding) ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ความพยายามในการเรียนรู้ 8.กรณีใกล้เคียง (Related case) ส่งเสริมให้ผู้เรียนเชื่อมโยงประสบการณ์ที่ เกี่ยวข้องมาใช้ในการแก้ปัญหาได้ 9.ห้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการออกแบบที่สนับสนุนให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียน รู"แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาร่วมกัน 10.การโค้ช (coaching) โดยครูผู้สอนทาการวิเคราะห์ผู้เรียน สามารถสื่อสารและ สะท้อนผลเกี่ยวกับผู้เรียนในกระบวนการเรียนรู้ และกระตุ้นให้ผู้เรียนกระทาภารกิจการ เรียนรู้อย่างตื่นตัว
  • 10. ครูมาโนช วิธีการประเมินคุณภาพชุดการสร้างความรู้ที่สอดคล้องกับครูมาโนช คือ มีหลักการสาคัญที่นามาเป็นพื้นฐานในการพิจารณาคุณลักษณะของสื่อดังนี้ 1 การนาเสนอเนื้อหาที่ดึงดูดความใส่ใจของผู้เรียน ได้แก่ การใช้ตัวหนังสือที่มีการเน้นด้วยสี การนาเสนอด้วยภาพนิ่ง 2 การออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะ มีความเหมาะสม สะดุดตา น่าสนใจ 3 ภาพประกอบมีความสอดคล้องกับเนื้อหาและส่งเสริมการเรียนรู ขนาดของตัวอักษรที่ใช้มีความสอดคล้องกับเนื้อหา 4 การใช้ขนาดตัวอักษรเหมาะกับผู้เรียน มีจุดดึงดูดความสนใจและอ่านง่าย 5 ภาพกราฟิกที่ใช้ประกอบ มีความเหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อหา และทาให้สามารถเรียนรู้ได้ ดีและง่ายมากยิ่งขึ้น 6 การใช้สีมีความเหมาะสม กลมกลืน ดึงดูดความสนใจ
  • 11. ครูประพาส วิธีการประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สอดคล้องกับครูประพาส คือ การประเมินโดยอาศัยเกณฑ์ เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 เป็นวิธีการที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อประเมินประสิทธิภาพของ บทเรียนโปรแกรม มีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้แบบรอบรู้ (Mastery learning) นิยามของเกณฑ์ มาตรฐาน 90/90 นั้นได้อธิบายไว้ว่า 90 ตัวแรกเป็นคะแนนของทั้งกลุ่ม ซึ่งหมายถึงนักเรียนทุกคน เมื่อสอนครั้งหลังเสร็จให้คะแนน เสร็จ นาคะแนนมาหาค่าร้อยละให้หมดทุกคะแนน แล้วหาค่าร้อยละเฉลี่ยของทั้งกลุ่ม ถ้า บทเรียนโปรแกรมถึงเกณฑ์ค่าร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มจะต้องเป็น 90 หรือสูงกว่า (เปรื่อง กุมุท, 2519) 90 ตัวที่สองแทนคุณสมบัติที่ว่า ร้อยละ 90 ของนักเรียนทั้งหมด ได้รับผลสัมฤทธิ์ตามมุ่งหมาย แต่ละข้อ และทุกข้อของบทเรียนโปรแกรม
  • 12. ครูประพาส วิธีการคานวณค่าประสิทธิภาพสื่อ 1. สร้างตารางบันทึกผลการสอบหลังเรียน โดยนาผลการทดสอบหลังเรียน ของผู้เรียนมาบันทึกค่าคะแนนไปในแต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนดไว้ 2. ตรวจผลการสอบของผู้เรียนแต่ละคน ดาเนินการตรวจผลการสอบว่า ผู้เรียนแต่ละคนได้คะแนนจากการสอบหลังเรียนกี่คะแนน 3. พิจารณาผลการสอบว่าผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนดไว้ในวัตถุประสงค์เชิง พฤติกรรมเท่าใด ดาเนินการพิจารณาผู้เรียนเป็นรายบุคคลว่ามีวัตถุประสงค์ ใดบ้างที่ผ่านและไม่ผ่านเกณฑ์
  • 13. Text in here ครูประพาส 4. คานวณประสิทธิภาพโดยใช้สูตรคานวณดังนี้ 90 ตัวแรก ={(ΣX /N) X 100)}/R 90 ตัวแรก หมายถึง จานวนร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน ΣX หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบที่ผู้เรียนแต่ละคน ทาได้ถูกต้องจาก การทดสอบหลังเรียน N หมายถึง จานวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคา นวณ ประสิทธิภาพครั้งนี้ R หมายถึง จานวนคะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน 90 ตัวหลัง = (Y x 100)/ N 90 ตัวหลัง หมายถึง จานวนร้อยละของผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบผ่านทุก วัตถุประสงค์ Y หมายถึง จานวนผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์ N หมายถึง จานวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคานวณประสิทธิภาพครั้งนี้
  • 14. Your text in here Your text in here ภารกิจที่ 2 อธิบายข้อจากัดของการประเมินสื่อ การสอน
  • 15. ข้อจากัดของการประเมินสื่อการสอน Your text in here การประเมินประสิทธิภาพของสื่อการสอนมีขั้นตอนการหา ประสิทธิภาพเริ่มตั้งแต่ การทดลองแบบกลุ่มต่อหนึ่ง (One to one testing) แล้วนาสื่อมาทดลองกับกลุ่มเล็ก (Small group testing) และ ท้ายสุดทาการทดลองภาคสนาม (Field testing) และอาจใช้วิธีการหา ค่าประสิทธิภาพกระบวนการ (E1)/ผลลัพธ์ (E2) หรืออาจใช่วิธีการหา ค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness index หรือ E.I.) ค่าประสิทธิภาพ ดังกล่าว ล้วนแต่เป็นค่าที่ได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ซึ่ง จะได้เป็นเพียงเฉพาะค่าคะแนนที่เป็นตัวเลขเชิงปริมาณเท่านั้น
  • 16. เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการ ประเมินสื่อการสอน สื่อการเรียนรู้และ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ภารกิจที่ 3 Your text in here Your text in here
  • 17. การประเมินสื่อการสอน Your text in here Your text in here หมายถึง การนาผลจากการวัดผลสื่อการเรียนการสอน มาตีความหมาย (Interrelation) และตัดสินคุณค่า (Value Judgment) เพื่อที่จะรู้ว่าสื่อนั้นทาหน้าที่ ตามที่วัตถุประสงค์กาหนดไว้ได้แค่ไหน มีคุณภาพดีหรือไม่ดีเพียงใด มีลักษณะ ถูกต้องตรงตามที่ต้องการหรือไม่ ประการใด จะเห็นว่า การประเมินผลสื่อการเรียนการสอน กระทาได้โดยการ พิจารณาข้อมูลที่ได้จากการวัดผลสื่อนั้นเทียบกับวัตถุประสงค์ ที่กาหนดไว้ ข้อมูล ที่ได้จากการวัดผลสื่อจึงมีความสาคัญ การวัดผลจึงต้องกระทาอย่างมีหลักการ เหตุผลและเป็นระบบเพื่อที่จะได้ข้อมูล ที่เที่ยงตรง สามารถบอกศักยภาพของสื่อ ได้ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงเพื่อประโยชน์ของการ ประเมินผลสื่ออย่าง เที่ยงตรงต่อไป
  • 18. การประเมินสื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ Your text in here Your text in here เป็นการประเมินที่อาศัยข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นค่าคะแนนหรือตัวเลข ตลอดจนสัญลักษณ์ของสื่อที่พิจารณาคุณลักษณะของสื่อในลักษณะภาพ เสียง ที่ส่งผลต่อการประมวลสารสนเทศในกระบวนการรู้คิดของผู้เรียนรวมทั้งยังอาศัย ข้อมูลเชิงคุณภาพซึ่งจะช่วยให้สามารถนามาปรับปรุงสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้หรือ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้มีคุณภาพหรือมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น หลักการสาคัญที่ควรพิจารณา 1.การประเมินด้านผลผลิต 2.การประเมินบริบทการใช้ 3.การประเมินด้านความคิดเห็น 4.การประเมินด้านความสามารถทางสติปัญญา 5.การประเมินผลสัมฤทธิ์
  • 19. สมาชิกในกลุ่ม Your text in here Your text in here 1.นางสาวกานต์นภัทร เฮงสวัสดิ์ 563050067-0 2.นางสาวกิตติมา เสาร์ทอง 563050070-1 3.นางสาวจิตธนา รัตนดี 563050346-6 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา ชั้นปีที่ 2
  • 20. Thank you! Contact Address: Prof. Somchai Doe Tel: Email: www.kku.ac.th