ݺߣ
Submit Search
การสอนแบบเปิด1
•
2 likes
•
4,166 views
Apinun Nadee
Follow
1 of 8
Download now
Downloaded 44 times
More Related Content
การสอนแบบเปิด1
1.
การสอนแบบเปด Open Approach
2.
ความหมายของการสอȨึϸวิธีปด
ไมตรี อินทรประสิทธิ์ ไดใหความหมาย วิธีการแบบเปด หมายถึง วิธีการสอนที่เนนการพัฒนาศักยภาพการคิดทางคณิตศาสตรของ นักเรียนโดยใชกิจกรรมการแกปญหาปลายเปด ลัดดา ศิลานอย ไดใหความหมาย วิธีการแบบเปด หมายถึง การจัด กิจกรรมเรียนรูที่เนนกระบวนการจัดกิจกรรมหรือสถานการณตางๆ ให มีลักษณะที่เปนปญหาแบบเปดกระตุนใหผูเรียนไดคิด ซึ่งจะเนนในเรื่อง การเปดความคิดของผูเรียนใหผูเรียนไดคิดกวาง คิดหลากหลาย และคิด สรางสรรคมากที่สุดเทาที่จะสามารถทําไดตามบริบทของเนื้อหา
3.
ความหมายของการสอȨึϸวิธีปด (ตอ)
โนดะ ( Nohda) ไดกลาววา แนวคิดเกี่ยวกับเรื่องการเปด (Openness) มีเปาหมายเพื่อใหนักเรียนทุกคนสามารถเรียนคณิตศาสตร ในแนวทางทีตอบสนองความสามารถของพวกเขาควบคูไปกับระดับ ่ ของการตัดสินใจดวยตนเองในการเรียนรูของพวกเขา และสามารถ ขยายหรือเพิ่มเติมคุณภาพของกระบวนการและผลที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับ คณิตศาสตรได การสอนโดยวิธีการแบบเปด มุงเนนทีจะเปดใจของ ่ นักเรียนทีมตอคณิตศาสตรมากกวาเนนการสอนเนือหาใหครบ ่ ี ้
4.
ความหมายของการสอȨึϸวิธีปด (ตอ)
วิธีการแบบเปด (Open Approach) จํากัดความไดวา เปนวิธีการสอน หนึ่ง ที่ใชกิจกรรมที่มีปฏิสัมพันธระหวางวิชาคณิตศาสตร และนักเรียนได เปดการใชวิธีการในการแกปญหาที่หลากหลาย จําเปนตองสรางกิจกรรมที่มี ปฏิสัมพันธระหวางวิธีคิดทางคณิตศาสตรและพฤติกรรมการแกปญหา นักเรียนไดถูกเปดออกมาอยางชัดเจนสามารถอธิบายได 3 ลักษณะ คือ 1) มีการพัฒนากิจกรรมของเด็กเพื่อวิธการสอนแบบเปดโดยเฉพาะ ี 2) ปญหาที่กําหนดในวิธการแบบเปดตองอาศัยแนวคิดทางคณิตศาสตร ี ดวย 3) วิธีการแบบเปดควรสอดคลองกันในกิจกรรมสัมพันธระหวาง ขอ 1 กับ ขอ 2
5.
การจัดการเรียนการสอนโดยใชวิธีการแบบปึϹȨั้Ȩรียน
คณิตศาสตรในญี่ปุน จุดเริ่มตนของวิธีการแบบเปดในญี่ปุน เกิดจากนักคณิตศาสตรศึกษาใน ญี่ปุนไดทําการศึกษามุมมองทางดานคณิตศาสตรแบบเดิมในการวิจยและการั ปฏิบัติการสอน ทําใหเกิดงานวิจัยเพิ่มในหัวขอ “วิธีการแบบปลายเปด” (The Opended Approach) “วิธีการแบบเปด” (The Open Approach) “จากปญหาสู ปญหา” (form problem to problem) เพื่อแกปญหาคณิตศาสตรแบบเดิมใน หองเรียนคณิตศาสตรที่มีมาตั้งแตกอนสงครามโลก ครั้งที่ 2 งานวิจยจะเนนที่ศักยภาพและแนวทางการคิดทางคณิตศาสตรของ ั นักเรียนเปนรายบุคคล และพัฒนาวิธีการสอนที่สามารถปรับเขากับความ หลากหลายทางการคิดของนักเรียน
6.
การจัดการเรียนการสอนโดยใชวิธีการแบบปึϹȨั้Ȩรียน
คณิตศาสตรในญี่ปุน (ตอ) ในป 1970 เกิดงานวิจยขึ้นมากมาย หนึ่งในนันคืองานวิจัยของชิมะดะ ั ้ และคณะที่ไดวิจัยเกียวกับวิธีการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางคณิตศาสตรของนักเรียน ่ ตามจุประสงคชั้นสูง คือ 1.มีความสามารถในการทําสถานการณที่ตนเองเกี่ยวของใหเปน คณิตศาสตรได 2.มีความสามารถที่จะทํางานรวมกับคนอื่นในการแกปญหาทาง คณิตศาสตร จากจุดนี้ถือวาเปนจุดเริ่มตนของการพัฒนาปญหาปลายเปดขึ้นมาเพื่อใช ในการประเมินกิจกรรมทางคณิตศาสตรของนักเรียน ในชวงแรกของการวิจัยประกอบดวยนักวิจยจํานวน 4 คน คือ ชิเงะรุ ั ชิมะดะ, โทะชิโอะ ชะวะดะ, โยะชิฮิโกะ ฮะชิโมะโตะ, และเคนจินิจิ ชิบุยะ
7.
การจัดการเรียนการสอนโดยใชวิธีการแบบปึϹȨั้Ȩรียน
คณิตศาสตรในญี่ปุน (ตอ) ตอมาสองสามป ไดมีนักวิจยและครูระดับประถมศึกษาและ ั มัธยมศึกษาเขามามีสวนรวมในการวิจัยนี้ โดยไดใชวิธการแบบเปดใน ี หองเรียนคณิตศาสตรของตนละไดมีการเผยแพรหนังสือซึ่งเปนผลมาจาก การทํางานรวมกัน ชื่อ The Openended approach : A new proposal for teaching mathematics.และสมาคมครูคณิตศาสตรของอเมริกา (NCTM) ได แปลเปนภาษาอังกฤษรวมทั้งเผยแพรการวิจัยเกียวกับปญหาปลายเปด จึงทํา ่ ใหการวิจัยดังกลาวไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง
Download