ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
สื่อประกอบการสอน
วิชาทัศนศิลป์
เรื่อง...งาȨัศȨิลป์ในยุคสมัยต่างๆ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ปีการศึกษาที่ ๒ / ๒๕๕๙
จัดทาโดย...นางสาวรัตติยา คาประชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ศิลปะไทยแบ่งได้เป็นยุคต่าง ๆ ดังนี้
1.) ยุคก่อนประวัติศาสตร์ไทย คือ
1. แบบทวาราวดี (ราว พ.ศ. 500 - 1200)
2. แบบศรีวิชัย (ราว พ.ศ. 1200 - 1700)
3. แบบลพบุรี (ราว พ.ศ. 1700 - 1800)
1. แบบทวาราวดี (ราว พ.ศ. 500 - 1200)
เป็นฝีมือของชนชาติอินเดียซึ่งอพยพมาสู่สุวรรณภูมิ ศูนย์กลางอยู่นครปฐม เป็นศิลปะแบบอุดมคติ รุ่นแรกเป็นฝีมือ
ชาวอินเดีย แต่สมะยหลังเป็นฝีมือของชาวพื้นเมืองโดยสอดใส่อุดมคติทางความงาม ตลอดจนลักษณะทางเชื้อชาติ ศิลปะที่
สาคัญคือ
1. ประติมากรรม
พระพุทธรูปแบบทวาราวดี สังเกตได้ชัดเจนคือพระพุทธรูปนั่งห้อยพระบาทและยก
พระหัตถ์ขึ้น โดยส่วนมากสลักด้วยหินปูน ภาพสลักมากคือบริเวณพระปฐมเจดีย์ คือ
ธรรมจักรกับกวางหมอบ
2. สถาปัตกรรม
ที่ปรากฎหลักฐานบริเวณนครปฐม กาญจนบุรี ราชบุรี อ่างทอง สุพรรณบุรี ได้แก่
สถูปลักษณะเดินดิน ทาเป็นมานาวผ่าซีก หรือรูปบาตรคว่า อยู่บนฐานสีเหลี่ยม เช่น
เจดีย์นครปฐมองค์เดิม
2. แบบศรีวิชัย (ราว พ.ศ. 1200 - 1700)
เป็นศิลปะแบบบอินดีย - ชวา ศูนย์กลางของศิลปะนี้อยู่ที่ไชยามีอาณาเขตของศิลปะศรีวิชัย เกาะสุมาตรตรา พวกศรี
วิชัยเดิมเป็นพวกที่อพยพมาจากอินเดียตอนใต้ แพร่เข้ามาพร้อมกับพระพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ได้สร้างสิ่งมหัสจรรย
ทของโลกไว้อย่างหนึ่งโดยสลักเขาทั้งลูกให้เป็นเขาไกลลาส คือ สถูปโบโรบูเดอร์ ศิลปะกรรมในประเทศไทย คือ
1. ประติมากรรม
ค้นพบพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ทาเป็นสัมฤทธิ์ที่ไชยา โดยสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ ถือว่าเป็นศิลปะชั้น
เยื่ยมของแบบศรีวิชัย
2. สถาปัตยกรรม
มีงานตกแต่งเข้ามาปนอยมากู่ในสถูป เช่นสถูปพระบรมธาตุไชยา สถูปวัดมหาธาตุ
3. แบบลพบุรี (ราว พ.ศ. 1700 - 1800)
ศิลปะแบบนี้คล้ายของขอม ศูนย์กลางอยู่ที่เมืองลพบุรี ศาสนาพราหมณ์เข้ามามีบทบาทตามความเชื่อ สร้างเทวา
สถานอันใหญ่โตแข็งแรงคงทนถาวร เช่น ปราสาทหินพนมรุ้ง นครวัด นับเป็นสิ่งมหัสจรรย์ของโลก
1. ประติมากรรม
สร้างพระพุทธรูป พระโพธิสัตว์ พระพุทธรูปสมัยลพบุรีเปลือยองค์ท่อนบน พระพักตร์เกือบเป็นสีเหลี่ยม มีฝีมือใน
การแกะลวดลายมาก
2. สถาปัตยกรรม
สร้างปรางค์เป็นเทวสถาน การก่อสร้างใช้งวัสดุที่แข็งแรงทนทาน ที่มีอยู่ตามท้องถิ่น เช่น ศิลาแลง หินทราย ศิลปะ
ที่สาคัญได้แก่ ปรางค์ลพบุรี
2.) ยุคประวัติศาสตร์ไทย คือ
1. แบบเชียงแสน (พ.ศ. 1600 - 2089)
2. แบบสุโขทัย (พ.ศ. 1800 - 1981)
3. แบบอยุธยา (พ.ศ. 1893 - 1310)
4. แบบรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2325 - ปัจจุบัน)
1. แบบเชียงแสน (พ.ศ. 1600 - 2089)
เรียกตามชื่อเมืองเชีงแสน ซึ้งเคยเป็นราชธานีแคว้นล้านนาในสมัยตอนต้น ไทยเข้ามาปกครองแคว้นนี้ เป็นพุทธ
ศาสนาลัทธิหินยานอย่างพุกาม ซึ่งพระเจ้านิรุทธมหาราชทรงนามาเผยแพร่ไว้ ศิลปะเชียงแสนรุ่นแรกไทยได้รับอิทธิพล
พุกาม (พม่า) วัตถุที่ใช้ ประกอบงานสถาปัตยกรรมยุคนี้ใช้อิท ปูน โลหะ ไม่ปรากฎว่าใช้หิน ศิลปะเชียงแสนรุ่งเรืองมาก
ถึงขีดสุดในสมัยพระเจ้าติโลกราชซึ่งเรียกได้ว่า "ยุคทอง"
1. ประติมากรรม
พระพุทธรูป ที่ถือได้ว่าเป็นแบบเชียงแสน จัดว่างามได้แก่ พระพุทธสิหิงส์ ในพิพิธภัณฑ์สถานแหล่งชาติ หล่อด้วย
โลหะนอก จากนั้นมีงานแกะสลักตกแต่งไม้ ตกแต่งอาคาร
2. สถาปัตยกรรม
ได้รับอิทธิพลของศิลปะแบต่างๆ เช่น
2.1 อิทธิพลพุกาม (พม่า) ได้แก่ สถูปที่วัดพระยืน จังหวัดลาพูน
2.2 อิทธิพลลานนาเดิม (มอญ - อินเดีย) ได้แก่ เจดีย์เหลี่ยม เช่น วัดกู่กุฏิ จังหวัดลาพูน
2.3 อิทธิพลแบบลานช้าง (โคตรบูรณ์) ได้แก่ พระธาตุเชิงชุม พระธาตุสรีทัติ จังหวัดนครพนม
2.4 อิทธิพลลังกา ชอบทาฐานสูง มีบัวซ้อนกันหลายชั้น เช่น วัดเจดีย์หลวง พระธาตุดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่
2.5 แบบเชียงแสนแท้ ได้แก่ โบสถ์และหอไตรวัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่
2. แบบสุโขทัย (พ.ศ. 1800 - 1981)
ศิลปะแบบสุโขทัยแบบผสมมาก และจัดว่าฝีมือของศิลปินไทยในยุคนี้สูงสุดในประวัติศาสตร์มีแบบอย่างเป็นของตนเอง
เรียกว่า ศิลปะแบบสุโขทัยแท้ พระพุทธรูปาด้รับยกย่องว่า เป็นศิลปกรรมชั้นเลิศ ศิลปกรรมที่สาคัญที่สุดคือ
1. จิตกรรม
เป็นแบบเส้นกัน พื้นดินสีแดง ตัดเส้นดา ผมดา ผิวเนื้อขาว ลวดลายมีสีเหลืองบ้าง เช่นซุ้มประตูวัดหาธาตุ สุโขทัย
2. ประติมากรรม
พระพุทธรูป สมัยสุโขทัยแสดงถึงความรู้สึกของชาติไทยโดยเฉพาะ ได้สร้างพระพุทธรูปปางลีลาอ่อนช้อย แบบสุโขทัย
หนักไปทางธรรมชาติ ให้ความรู้สึกอ่อนโยน เมตตา พระพุทธรูปที่สาคัญในศิลปะแบบสุโขทัยคือ พระพุทธชิน
ราช พิษณุโลก ภาพปั้นปูนแบบสุโขทัยที่งดงาม เป็นภาพปั้นประกอบลวดลายที่วัดนางพญา ภาพสลักไม้เพดาน
ปรางค์ วัดหมาธาตุ
3. สถาปัตยกรรม
แบ่งตามอิทธิพลดังนี้
3.1 อิทธิพลลพบุรี ได้แก่ ปรางค์วัดมหาธาตุ สวรรคโลก
3.2 อิทธิพลลังกา ได้แก สถูปวัดช้างล้อม สุโขทัย
3.3 อิทธิพลศรีวิชัย ได้แก่ สถูปวัดเจดีย์เจ็ดแถว สวรรคโลก
3.4 อิทธิพลสูโทัยแท้ ได้แก่ สถูปยุทธหัตถีย์ (องค์เดิม) จังหวัดตาก
3. แบบอยุธยา (พ.ศ. 1893 - 1310)
มีอายุถึง 417 ปี และมีแบบอย่างศิลปะมากที่สุดในประเทศไทย ลัทธิศาสนาในอาณาจักรนี้มีศาสนาพุทธ และลัทธิ
หินยานลัทธิลังกาวงค์ ศาสนาพราหมณ์ของขอม ศาสนาคริสเตียน กรุงศรีอยุธยาสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1893 อาณาจักที่มี
พระเจ้าอู่ทอง เชื้อวงศ์เชียงราย ได้สร้างขึ้นใหม่ มีการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศมากมาย จึงได้รับอิทธิพลจานวน
มาก ศิลปะที่สาคัญ
1. จิตกรรม
- อิทธพลจากจีนและยุโรบ ได้รับการติดต่อทางการค้าขาย ศิลปะภาพเขีนยหนักไปทางประดิษฐ์ ใช้ทองปิดเป็นบาง
แห่ง
2. ประติมากรรม
2.1 พระพทธรูปแบบอู่ทอง ได้สร้างขึ้นแพร่หลายมาก มีพระพักตร์ยาว ทาด้วยหินทรายหล่อสัมฤทธิ์
2.2 งานปั้นสลัก - ภาพสลักวัดพระสรีสรรเพชญ์ ภาพสลักบานประตูวัดหันตรา
3. สถาปัตยกรรม
แบ่งตามอิทธิพลคือ
3.1 อิทธิพลทวาราวดี งานสถาปัตยกรรมเห็นไม่ชัด แต่ปรากฏในงานสลักไม้
3.2 อิทธิพลลพบุรี ได้แก่ปรางค์ที่วัดราชบูรณะ อยุธยา
3.3 อิทธิพลเชียงแสน ได้แก่ สถูปทรงสี่เหลี่ยมวัดไชยวัฒนา
3.4 อิทธิพลลังกา ได้แก่สถูปพระศรีสุริโยทัย
3.5 อิทธิพลตะวันตก ได้แก่ พระที่นั่งเย็น (สร้างริมบึงพระราม) ลพบุรี
3.6 อิทธิพลจีน ได้แก่วัดบรมพุทธาราม (กระเบื้องเคลืบแบบลูกฟูก)
3.7 อิทธิพลแบบอยุธยาแท้ ได้แก่ สถูปภูเขาทอง สถูปพระศรีสุริโยทัย
4. แบบรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2325 - ปัจจุบัน)
หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยา ศิลปะต่าง ๆ ก็เสื่อมลง ศิลปินหนีหายถูกกวาดต้อนไปเป็นเป็นอันมาก ศิลปกรรมเริ่ม
ปรับปรุงขึ้นจากอีกหลังจากสถาปนา กรุงรัตนโกสินทร์ ในปีพ.ศ. 2325 ประวัติความเป็นมาดังนี้
รัชกาลที่ 1-2 ศิลปกรรมถือตามแบบอย่างอยุธยา
รัชกาลที่ 2 ศิลปกรรมแบบจีนเข้าวมามีบทบาทอย่างรุนแรง
รัชกาลที่ 4-5 ศิลปกรรมตะวันตกหลั่งไหลเข้ามา
รัชกาลที่ 6 ศิลปกรรมมีลักษณะเดิมอีก โดยพระองค์ทรงพยายาม เหนี่ยวลั้งความหลงผิด ๆ ทางศิลปะปรับปรุง
ศิลปะ ดั้งเดิมของไทยขึ้นมาใหม่่
ศิลปกรรมที่สาคัญของไทย
1.จิตกรรมประวัติศิลปะไทย
- ภาพเขียนผาผนังพระที่นั่งพุทไธศวรรค์ พิพิธพัณฑ์
2. ประติมากรรม
- พระพุทธรูป ประประธานในโบสถ์ วัดมหาธาตุ
3. สถาปัตยกรรม แบ่งตามอิทธิพลคือ
3.1 อิทธิพลอยุธยา ได้แก่ ปรางค์วัดอรุณราชวราราม
3.2 อิทธิพลจีน ได้แก่ โบสถ์ - วิหาร วัดบวรนิเวศ
3.3 อิทธิพลตะวันตก ได้แก่ พระที่นั่งจักรกรีมหาปราสาท
3.4 อิทธิพลรัตนโกสินทร์ ได้แก่ ซุ้มประตูมณฑปวัดเชตุพนฯ
3.5 อิทธิพลรัตนโกสิทร์แบบฟื้นกลับ หมายถึง แบบอย่างศิลปะของไทยในยุคต่างๆ มาดัดแปลงเพื่อให้เหมาะแก่
งานในยุคปัจจบัน เกิดขึ้นรัชกาลที่
5 - 6 ได้แก่ อนุสาวรีย์ทหารอาสา หอสมุดแห่งชาติ โรงเรียนวชิรวุธ เป็นต้น
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา

More Related Content

สื่อศิลปะ ครูรัตติยา

  • 2. ศิลปะไทยแบ่งได้เป็นยุคต่าง ๆ ดังนี้ 1.) ยุคก่อนประวัติศาสตร์ไทย คือ 1. แบบทวาราวดี (ราว พ.ศ. 500 - 1200) 2. แบบศรีวิชัย (ราว พ.ศ. 1200 - 1700) 3. แบบลพบุรี (ราว พ.ศ. 1700 - 1800) 1. แบบทวาราวดี (ราว พ.ศ. 500 - 1200) เป็นฝีมือของชนชาติอินเดียซึ่งอพยพมาสู่สุวรรณภูมิ ศูนย์กลางอยู่นครปฐม เป็นศิลปะแบบอุดมคติ รุ่นแรกเป็นฝีมือ ชาวอินเดีย แต่สมะยหลังเป็นฝีมือของชาวพื้นเมืองโดยสอดใส่อุดมคติทางความงาม ตลอดจนลักษณะทางเชื้อชาติ ศิลปะที่ สาคัญคือ 1. ประติมากรรม พระพุทธรูปแบบทวาราวดี สังเกตได้ชัดเจนคือพระพุทธรูปนั่งห้อยพระบาทและยก พระหัตถ์ขึ้น โดยส่วนมากสลักด้วยหินปูน ภาพสลักมากคือบริเวณพระปฐมเจดีย์ คือ ธรรมจักรกับกวางหมอบ 2. สถาปัตกรรม ที่ปรากฎหลักฐานบริเวณนครปฐม กาญจนบุรี ราชบุรี อ่างทอง สุพรรณบุรี ได้แก่ สถูปลักษณะเดินดิน ทาเป็นมานาวผ่าซีก หรือรูปบาตรคว่า อยู่บนฐานสีเหลี่ยม เช่น เจดีย์นครปฐมองค์เดิม
  • 3. 2. แบบศรีวิชัย (ราว พ.ศ. 1200 - 1700) เป็นศิลปะแบบบอินดีย - ชวา ศูนย์กลางของศิลปะนี้อยู่ที่ไชยามีอาณาเขตของศิลปะศรีวิชัย เกาะสุมาตรตรา พวกศรี วิชัยเดิมเป็นพวกที่อพยพมาจากอินเดียตอนใต้ แพร่เข้ามาพร้อมกับพระพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ได้สร้างสิ่งมหัสจรรย ทของโลกไว้อย่างหนึ่งโดยสลักเขาทั้งลูกให้เป็นเขาไกลลาส คือ สถูปโบโรบูเดอร์ ศิลปะกรรมในประเทศไทย คือ 1. ประติมากรรม ค้นพบพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ทาเป็นสัมฤทธิ์ที่ไชยา โดยสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ ถือว่าเป็นศิลปะชั้น เยื่ยมของแบบศรีวิชัย 2. สถาปัตยกรรม มีงานตกแต่งเข้ามาปนอยมากู่ในสถูป เช่นสถูปพระบรมธาตุไชยา สถูปวัดมหาธาตุ
  • 4. 3. แบบลพบุรี (ราว พ.ศ. 1700 - 1800) ศิลปะแบบนี้คล้ายของขอม ศูนย์กลางอยู่ที่เมืองลพบุรี ศาสนาพราหมณ์เข้ามามีบทบาทตามความเชื่อ สร้างเทวา สถานอันใหญ่โตแข็งแรงคงทนถาวร เช่น ปราสาทหินพนมรุ้ง นครวัด นับเป็นสิ่งมหัสจรรย์ของโลก 1. ประติมากรรม สร้างพระพุทธรูป พระโพธิสัตว์ พระพุทธรูปสมัยลพบุรีเปลือยองค์ท่อนบน พระพักตร์เกือบเป็นสีเหลี่ยม มีฝีมือใน การแกะลวดลายมาก 2. สถาปัตยกรรม สร้างปรางค์เป็นเทวสถาน การก่อสร้างใช้งวัสดุที่แข็งแรงทนทาน ที่มีอยู่ตามท้องถิ่น เช่น ศิลาแลง หินทราย ศิลปะ ที่สาคัญได้แก่ ปรางค์ลพบุรี 2.) ยุคประวัติศาสตร์ไทย คือ 1. แบบเชียงแสน (พ.ศ. 1600 - 2089) 2. แบบสุโขทัย (พ.ศ. 1800 - 1981) 3. แบบอยุธยา (พ.ศ. 1893 - 1310) 4. แบบรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2325 - ปัจจุบัน) 1. แบบเชียงแสน (พ.ศ. 1600 - 2089) เรียกตามชื่อเมืองเชีงแสน ซึ้งเคยเป็นราชธานีแคว้นล้านนาในสมัยตอนต้น ไทยเข้ามาปกครองแคว้นนี้ เป็นพุทธ ศาสนาลัทธิหินยานอย่างพุกาม ซึ่งพระเจ้านิรุทธมหาราชทรงนามาเผยแพร่ไว้ ศิลปะเชียงแสนรุ่นแรกไทยได้รับอิทธิพล พุกาม (พม่า) วัตถุที่ใช้ ประกอบงานสถาปัตยกรรมยุคนี้ใช้อิท ปูน โลหะ ไม่ปรากฎว่าใช้หิน ศิลปะเชียงแสนรุ่งเรืองมาก ถึงขีดสุดในสมัยพระเจ้าติโลกราชซึ่งเรียกได้ว่า "ยุคทอง"
  • 5. 1. ประติมากรรม พระพุทธรูป ที่ถือได้ว่าเป็นแบบเชียงแสน จัดว่างามได้แก่ พระพุทธสิหิงส์ ในพิพิธภัณฑ์สถานแหล่งชาติ หล่อด้วย โลหะนอก จากนั้นมีงานแกะสลักตกแต่งไม้ ตกแต่งอาคาร 2. สถาปัตยกรรม ได้รับอิทธิพลของศิลปะแบต่างๆ เช่น 2.1 อิทธิพลพุกาม (พม่า) ได้แก่ สถูปที่วัดพระยืน จังหวัดลาพูน 2.2 อิทธิพลลานนาเดิม (มอญ - อินเดีย) ได้แก่ เจดีย์เหลี่ยม เช่น วัดกู่กุฏิ จังหวัดลาพูน 2.3 อิทธิพลแบบลานช้าง (โคตรบูรณ์) ได้แก่ พระธาตุเชิงชุม พระธาตุสรีทัติ จังหวัดนครพนม 2.4 อิทธิพลลังกา ชอบทาฐานสูง มีบัวซ้อนกันหลายชั้น เช่น วัดเจดีย์หลวง พระธาตุดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่
  • 6. 2.5 แบบเชียงแสนแท้ ได้แก่ โบสถ์และหอไตรวัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่ 2. แบบสุโขทัย (พ.ศ. 1800 - 1981) ศิลปะแบบสุโขทัยแบบผสมมาก และจัดว่าฝีมือของศิลปินไทยในยุคนี้สูงสุดในประวัติศาสตร์มีแบบอย่างเป็นของตนเอง เรียกว่า ศิลปะแบบสุโขทัยแท้ พระพุทธรูปาด้รับยกย่องว่า เป็นศิลปกรรมชั้นเลิศ ศิลปกรรมที่สาคัญที่สุดคือ 1. จิตกรรม เป็นแบบเส้นกัน พื้นดินสีแดง ตัดเส้นดา ผมดา ผิวเนื้อขาว ลวดลายมีสีเหลืองบ้าง เช่นซุ้มประตูวัดหาธาตุ สุโขทัย
  • 7. 2. ประติมากรรม พระพุทธรูป สมัยสุโขทัยแสดงถึงความรู้สึกของชาติไทยโดยเฉพาะ ได้สร้างพระพุทธรูปปางลีลาอ่อนช้อย แบบสุโขทัย หนักไปทางธรรมชาติ ให้ความรู้สึกอ่อนโยน เมตตา พระพุทธรูปที่สาคัญในศิลปะแบบสุโขทัยคือ พระพุทธชิน ราช พิษณุโลก ภาพปั้นปูนแบบสุโขทัยที่งดงาม เป็นภาพปั้นประกอบลวดลายที่วัดนางพญา ภาพสลักไม้เพดาน ปรางค์ วัดหมาธาตุ 3. สถาปัตยกรรม แบ่งตามอิทธิพลดังนี้ 3.1 อิทธิพลลพบุรี ได้แก่ ปรางค์วัดมหาธาตุ สวรรคโลก 3.2 อิทธิพลลังกา ได้แก สถูปวัดช้างล้อม สุโขทัย 3.3 อิทธิพลศรีวิชัย ได้แก่ สถูปวัดเจดีย์เจ็ดแถว สวรรคโลก 3.4 อิทธิพลสูโทัยแท้ ได้แก่ สถูปยุทธหัตถีย์ (องค์เดิม) จังหวัดตาก
  • 8. 3. แบบอยุธยา (พ.ศ. 1893 - 1310) มีอายุถึง 417 ปี และมีแบบอย่างศิลปะมากที่สุดในประเทศไทย ลัทธิศาสนาในอาณาจักรนี้มีศาสนาพุทธ และลัทธิ หินยานลัทธิลังกาวงค์ ศาสนาพราหมณ์ของขอม ศาสนาคริสเตียน กรุงศรีอยุธยาสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1893 อาณาจักที่มี พระเจ้าอู่ทอง เชื้อวงศ์เชียงราย ได้สร้างขึ้นใหม่ มีการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศมากมาย จึงได้รับอิทธิพลจานวน มาก ศิลปะที่สาคัญ 1. จิตกรรม - อิทธพลจากจีนและยุโรบ ได้รับการติดต่อทางการค้าขาย ศิลปะภาพเขีนยหนักไปทางประดิษฐ์ ใช้ทองปิดเป็นบาง แห่ง 2. ประติมากรรม 2.1 พระพทธรูปแบบอู่ทอง ได้สร้างขึ้นแพร่หลายมาก มีพระพักตร์ยาว ทาด้วยหินทรายหล่อสัมฤทธิ์ 2.2 งานปั้นสลัก - ภาพสลักวัดพระสรีสรรเพชญ์ ภาพสลักบานประตูวัดหันตรา
  • 9. 3. สถาปัตยกรรม แบ่งตามอิทธิพลคือ 3.1 อิทธิพลทวาราวดี งานสถาปัตยกรรมเห็นไม่ชัด แต่ปรากฏในงานสลักไม้ 3.2 อิทธิพลลพบุรี ได้แก่ปรางค์ที่วัดราชบูรณะ อยุธยา 3.3 อิทธิพลเชียงแสน ได้แก่ สถูปทรงสี่เหลี่ยมวัดไชยวัฒนา 3.4 อิทธิพลลังกา ได้แก่สถูปพระศรีสุริโยทัย 3.5 อิทธิพลตะวันตก ได้แก่ พระที่นั่งเย็น (สร้างริมบึงพระราม) ลพบุรี 3.6 อิทธิพลจีน ได้แก่วัดบรมพุทธาราม (กระเบื้องเคลืบแบบลูกฟูก) 3.7 อิทธิพลแบบอยุธยาแท้ ได้แก่ สถูปภูเขาทอง สถูปพระศรีสุริโยทัย
  • 10. 4. แบบรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2325 - ปัจจุบัน) หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยา ศิลปะต่าง ๆ ก็เสื่อมลง ศิลปินหนีหายถูกกวาดต้อนไปเป็นเป็นอันมาก ศิลปกรรมเริ่ม ปรับปรุงขึ้นจากอีกหลังจากสถาปนา กรุงรัตนโกสินทร์ ในปีพ.ศ. 2325 ประวัติความเป็นมาดังนี้ รัชกาลที่ 1-2 ศิลปกรรมถือตามแบบอย่างอยุธยา รัชกาลที่ 2 ศิลปกรรมแบบจีนเข้าวมามีบทบาทอย่างรุนแรง รัชกาลที่ 4-5 ศิลปกรรมตะวันตกหลั่งไหลเข้ามา รัชกาลที่ 6 ศิลปกรรมมีลักษณะเดิมอีก โดยพระองค์ทรงพยายาม เหนี่ยวลั้งความหลงผิด ๆ ทางศิลปะปรับปรุง ศิลปะ ดั้งเดิมของไทยขึ้นมาใหม่่ ศิลปกรรมที่สาคัญของไทย 1.จิตกรรมประวัติศิลปะไทย - ภาพเขียนผาผนังพระที่นั่งพุทไธศวรรค์ พิพิธพัณฑ์
  • 11. 2. ประติมากรรม - พระพุทธรูป ประประธานในโบสถ์ วัดมหาธาตุ 3. สถาปัตยกรรม แบ่งตามอิทธิพลคือ 3.1 อิทธิพลอยุธยา ได้แก่ ปรางค์วัดอรุณราชวราราม 3.2 อิทธิพลจีน ได้แก่ โบสถ์ - วิหาร วัดบวรนิเวศ 3.3 อิทธิพลตะวันตก ได้แก่ พระที่นั่งจักรกรีมหาปราสาท 3.4 อิทธิพลรัตนโกสินทร์ ได้แก่ ซุ้มประตูมณฑปวัดเชตุพนฯ 3.5 อิทธิพลรัตนโกสิทร์แบบฟื้นกลับ หมายถึง แบบอย่างศิลปะของไทยในยุคต่างๆ มาดัดแปลงเพื่อให้เหมาะแก่ งานในยุคปัจจบัน เกิดขึ้นรัชกาลที่ 5 - 6 ได้แก่ อนุสาวรีย์ทหารอาสา หอสมุดแห่งชาติ โรงเรียนวชิรวุธ เป็นต้น