ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้
  คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร่วมมือ
ตามแนวคิดการเรียนรูแบบเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อสร้าง
                   ้
          พฤติกรรมการสร้างความรู้
     ของนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา


วิทยานิพนธ์ของ..
            ศิวนิต อรรถวุฒิกุล
         สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
     ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา
          คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                    ปีการศึกษา 2551



                                  ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห
ความเป็นมาและความสำาคัญของ
ปัญหา
       การเปลียนแปลงของยุคเศรษฐกิจฐานความรู้
               ่
       ศึกษาแนวคิด KM (Knowledge Management) ของ Ikujiro Nonaka and Hirotaka Takeuchi
        (SECI Model : Socialization+Externalization+Combination+Interalization)
     ศึกษาแนวคิด KM (Knowledge Management) กับการศึกษา จากต่าง
      ประเทศ (อเมริกา, มาเลเซีย)
     ศึกษาแนวคิด KM (Knowledge Management) กับการศึกษา ในประเทศไทย
    -    การนำาแนวคิด KM มาประยุกต์ใช้ในสถาบันอุดมศึกษา (UKM),
         โครงการวิจัยฯ (สคส.+สกว.+สกศ.) และการศึกษาขั้นพื้นฐาน
    -    แนวคิดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assisted Learning :
         PAL) มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีการเรียนรู้ทางด้านสังคม และลัทธิสร้างสรรค์นิยม
            (Social learning Theory and Constructivism)
    -       แนวคิด ทฤษฎีคอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร่วมมือ
            (Computer Support Collaborative Learning : CSCL)...เพื่อสร้าง
            เครื่องมือคอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร่วมมือ
    -       พัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์
            สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร่วมมือ
            ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห
                                                  ผู ่อน
วัตถุประสงค์
1. วัตถุประสงค์ทวไป
                ั่
      เพื่อพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์
       สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร่วมมือ
       ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพือน เพื่อสร้างพฤติกรรมการ
                                           ่
       สร้างความรู้ของนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
2. วัตถุประสงค์เฉพาะ
      เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับองค์ประกอบ และขัน ้
       ตอนของกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุน
       การเรียนรู้อย่างร่วมมือ ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบเพือนช่วยเพื่อน
                                                         ่
       เพื่อสร้างพฤติกรรมการสร้างความรู้ของนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิต
       ศึกษา
      เพื่อสร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุน
       การเรียนรู้อย่างร่วมมือ ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบเพือนช่วยเพื่อน
                                                           ่
       เพื่อสร้างพฤติกรรมการสร้างความรู้ของนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิต
       ศึกษา
      เพื่อศึกษาผลการใช้กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้
       คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร่วมมือ ตามแนวคิดการเรียนรู้
               ่                ่             ผู้นำาเสนอ ..... นายวิช
       แบบเพือนช่วยเพื่อน เพือสร้างพฤติกรรมการสร้างความรู้ของนิสิต ิต ชาวะห
คำาถามการวิจัย                                      ?
   กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้
    คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรูอย่างร่วมมือ
                                 ้
    ตามแนวคิดการเรียนรูแบบเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อ
                       ้
    สร้างพฤติกรรมการสร้างความรูของนิสิตนักศึกษา
                               ้
    ระดับบัณฑิตศึกษา
    มีองค์ประกอบและขั้นตอนอะไรบ้าง และทำา
    กิจกรรมอย่างไร

   พฤติกรรมการสร้างความรู้ของนิสิตนักศึกษา
    เมื่อเรียนรูตามกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูโดย
                ้                                 ้
                               ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต   ชาวะห
สมมุติฐานการวิจัย
   นิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ผ่าน
    กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้
    คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรูอย่างร่วมมือ
                                 ้
    ตามแนวคิดการเรียนรูแบบเพื่อนช่วยเพื่อนจะมี
                         ้
    พฤติกรรมการสร้างความรู้หลังการทดลองสูงกว่า
    ก่อนทดลองอย่างมีนยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
                       ั
    และ
    มีผลคะแนนการประเมินผลงานอยู่ในระดับดี

                               ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห
ขั้นตอนการดำาเนินงานวิจัย
   ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ขอมูลพื้นฐานที่
                                  ้
    เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของผู้
    เชี่ยวชาญ เกี่ยวกับองค์ประกอบของกระบวนการ
    แลกเปลี่ยนเรียนรู้
   สร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
   ศึกษาผลการใช้งานกระบวนการแลกเปลี่ยน
    เรียนรู้เป็นเวลา 16 สัปดาห์
   นำาเสนอกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่พัฒนา
    ขึ้น
                              ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห
สถิติที่ใช้
    สถิตที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่
         ิ
     ความถี่

     ร้อยละ

     ค่าเฉลี่ย

     ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน
               ่
       Shapiro-Wilk test
       t-test Dependent


                                  ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห
ขอบเขตการวิจัย
   การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
    โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรูอย่างร่วม
                                       ้
    มือฯ
   กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่
       กลุ่มตัวอย่างสำาหรับสัมภาษณ์ความคิดเห็นเกี่ยว
        กับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ
        จำานวน 7 คน
       กลุ่มตัวอย่างที่เป็นเพื่อนร่วมเรียนรู้ สำาหรับศึกษา
        ผลการใช้งานกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูฯ คือ    ้
        นิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ที่ลงทะเบียน
        ในรายวิชา 2726795 การออกแบบการเรียนการสอน
        อิเล็กทรอนิกส์                 ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต   ชาวะห
ขอบเขตการวิจัย (ต่อ)
   การสร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ
     องค์ประกอบของกระบวนการ
        1.   บุคคล
        2.   สาระความรู้
        3.   เครื่องมือคอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร่วมมือ
        4.   การปรับเปลี่ยนและการจัดการพฤติกรรม
        5.   การประเมิน
       ขั้นตอนของกระบวนการ
        1.   แนะนำาทาง สร้างกลุ่มสัมพันธ์
        2.   กำาหนดความรู้ นำาไปสู่เป้าหมาย
        3.   สืบเสาะแสวงหา เพื่อพัฒนาผลงาน
        4.   พบปะแลกเปลี่ยน เพื่อนเรียนเพื่อนรู้
        5.   สร้างสรรค์เผยแพร่ ร่วมแก้ร่วมปรับ
        6.   ประเมินผลงาน ผสานความคิด
                                                   ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห
ขอบเขตการวิจัย (ต่อ)
   โปรแกรมคอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรูอย่าง
                                          ้
    ร่วมมือที่พัฒนาขึ้น
    เพื่อใช้ในกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
       เครื่องมือบันทึกความรู้ (Weblog)
       เครื่องมือร่วมคิดร่วมเขียน (Wikipedia)
       เครื่องมือกระดานความรู้ (Web Board)
       เครื่องมือคุยกันฉันท์เพื่อน (Chat/MSN)
       เครื่องมือสารสัมพันธ์ (e-Mail)


                                    ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห
กรอบแนวคิดการวิจัย




                     ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห
ผลการวิจัย
   องค์ประกอบของกระบวนการที่พัฒนาขึ้น... 1)
    บุคคล 2) สาระความรู้
    3) เครื่องมือคอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรูอย่างร่วมมือ
                                                   ้
    4) การปรับเปลี่ยนและ
    การจัดการพฤติกรรม และ 5) การประเมิน
   ขั้นตอนของกระบวนการที่พัฒนาขึ้น... 1) ขั้นแนะนำา
    ทาง สร้างกลุ่มสัมพันธ์
    2) ขั้นกำาหนดความรู้ นำาไปสู่เป้าหมาย 3) ขั้นสืบเสาะ
    แสวงหา เพื่อพัฒนาผลงาน
     4) ขั้นพบปะแลกเปลี่ยน เพื่อนเรียนเพื่อนรู้ 5) ขั้น
    สร้างสรรค์เผยแพร่ ร่วมแก้ร่วมปรับ และ 6) ขั้นประเมินผล
    งาน ผสานความคิด
   กลุ่มตัวอย่าง มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการสร้างความรู้ ชาวะห
                                      ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต

More Related Content

What's hot (20)

PPTX
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
lalidawan
PDF
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
suwannsp
PDF
บทที่10ประเมิȨุณภาพสื่อการสอȨละสื่อการเรียนรู้
Thamonwan Kottapan
PDF
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Dee Arna'
PDF
Chapter 10
Dexdum Ch
PDF
๶ทคȨคการสอȨȨตวรรษที่21
Prachyanun Nilsook
PDF
Chapter 10
Tannoi Tesprasit
PPTX
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
lalidawan
PPTX
งานกลุ่ม Chapter 7
Pronsawan Petklub
PDF
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Alice Misty
PPTX
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
B'nust Thaporn
PPTX
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
Aon Onuma
PDF
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
Pennapa Kumpang
PDF
มุมมองทางจิตวิทยาการ๶รียนรู้กับ๶ทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
AomJi Math-ed
PPT
การใช้สื่อการเรียนรู้2003
สวนเทพสาธร ดอทคอม
PDF
การผลิตสื่อวีดิทัศȨบรรยาย๶Ȩ้อหา
Kittipun Udomseth
PDF
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Teerasak Nantasan
PPTX
ICT กับการเรียนการสอน: สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
natthasart
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
lalidawan
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
suwannsp
บทที่10ประเมิȨุณภาพสื่อการสอȨละสื่อการเรียนรู้
Thamonwan Kottapan
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Dee Arna'
Chapter 10
Dexdum Ch
๶ทคȨคการสอȨȨตวรรษที่21
Prachyanun Nilsook
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
lalidawan
งานกลุ่ม Chapter 7
Pronsawan Petklub
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Alice Misty
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
B'nust Thaporn
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
Aon Onuma
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
Pennapa Kumpang
มุมมองทางจิตวิทยาการ๶รียนรู้กับ๶ทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
AomJi Math-ed
การใช้สื่อการเรียนรู้2003
สวนเทพสาธร ดอทคอม
การผลิตสื่อวีดิทัศȨบรรยาย๶Ȩ้อหา
Kittipun Udomseth
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Teerasak Nantasan
ICT กับการเรียนการสอน: สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
natthasart

Similar to การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร่วมมือ ต (20)

PDF
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
Panita Wannapiroon Kmutnb
PDF
โครงการอบรมการผลิตสื่อออȨลน์
tassanee chaicharoen
PDF
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
kruwaeo
PDF
โครงงาȨอมพิวเตอร์
สุทธิดา ขอดศิริ
PDF
รายงานการวิจัย๶รื่องการพัոาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้๶ว็บบล็อก
Nattapon
PDF
รายงานโครงงาȨอมพิวเตอร์
Saengnapa Saejueng
PDF
การเขียนรายงานโครงงาȨอมพิวเตอร์ 30
Saengnapa Saejueng
PDF
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
ศรัณยวัฒน์ พลเรียงโพน
PPTX
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
ศรัณยวัฒน์ พลเรียงโพน
PPT
Ȩ๶สนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่
Nitwadee Puiamtanatip
PDF
บทที่6
Natchya Pengtham
PDF
ݺߣshare
paewwaew
PDF
หลักการออกแบบสื่อการสอน
Krookhuean Moonwan
PPT
ASI403 course syllabus 2009-08-24
ASI403 : Arsomsilp Institue of the Arts
PDF
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Panita Wannapiroon Kmutnb
PDF
แบบเสนอโครงร่างโครงงาȨอมพิวเตอร์
mina612
PDF
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
Panita Wannapiroon Kmutnb
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
Panita Wannapiroon Kmutnb
โครงการอบรมการผลิตสื่อออȨลน์
tassanee chaicharoen
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
kruwaeo
โครงงาȨอมพิวเตอร์
สุทธิดา ขอดศิริ
รายงานการวิจัย๶รื่องการพัոาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้๶ว็บบล็อก
Nattapon
รายงานโครงงาȨอมพิวเตอร์
Saengnapa Saejueng
การเขียนรายงานโครงงาȨอมพิวเตอร์ 30
Saengnapa Saejueng
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
ศรัณยวัฒน์ พลเรียงโพน
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
ศรัณยวัฒน์ พลเรียงโพน
Ȩ๶สนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่
Nitwadee Puiamtanatip
บทที่6
Natchya Pengtham
ݺߣshare
paewwaew
หลักการออกแบบสื่อการสอน
Krookhuean Moonwan
ASI403 course syllabus 2009-08-24
ASI403 : Arsomsilp Institue of the Arts
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Panita Wannapiroon Kmutnb
แบบเสนอโครงร่างโครงงาȨอมพิวเตอร์
mina612
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
Panita Wannapiroon Kmutnb
Ad

More from Wichit Chawaha (20)

PPT
Ppt0000000
Wichit Chawaha
PDF
Lms trends 9 march 2012
Wichit Chawaha
PDF
Lms trends 9 march 2012
Wichit Chawaha
PDF
Sopa feedback-web
Wichit Chawaha
PDF
Power point template_create-andwebsocialnetworkpresent
Wichit Chawaha
PDF
Power point template_create-homework-1
Wichit Chawaha
PPTX
Power point template_create-homework-1
Wichit Chawaha
PDF
ݺߣ to slideshare
Wichit Chawaha
PDF
การออกแบบและการนำเสนอ
Wichit Chawaha
DOCX
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power point
Wichit Chawaha
PDF
แผ่นรายการการนำเสนอที่สมบูรณ์
Wichit Chawaha
PDF
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPoint
Wichit Chawaha
PDF
แผ่นรายการȨ๶สนอ
Wichit Chawaha
PDF
ݺߣ to slideshare
Wichit Chawaha
PDF
Computer & presentation thinking to-talking
Wichit Chawaha
PPT
Blogger gadget
Wichit Chawaha
PPT
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ppt
Wichit Chawaha
PDF
Ppt A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In ...
Wichit Chawaha
PPTX
A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In Chem...
Wichit Chawaha
Ppt0000000
Wichit Chawaha
Lms trends 9 march 2012
Wichit Chawaha
Lms trends 9 march 2012
Wichit Chawaha
Sopa feedback-web
Wichit Chawaha
Power point template_create-andwebsocialnetworkpresent
Wichit Chawaha
Power point template_create-homework-1
Wichit Chawaha
Power point template_create-homework-1
Wichit Chawaha
ݺߣ to slideshare
Wichit Chawaha
การออกแบบและการนำเสนอ
Wichit Chawaha
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power point
Wichit Chawaha
แผ่นรายการการนำเสนอที่สมบูรณ์
Wichit Chawaha
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPoint
Wichit Chawaha
แผ่นรายการȨ๶สนอ
Wichit Chawaha
ݺߣ to slideshare
Wichit Chawaha
Computer & presentation thinking to-talking
Wichit Chawaha
Blogger gadget
Wichit Chawaha
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ppt
Wichit Chawaha
Ppt A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In ...
Wichit Chawaha
A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In Chem...
Wichit Chawaha
Ad

การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร่วมมือ ต

  • 1. การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้ คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร่วมมือ ตามแนวคิดการเรียนรูแบบเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อสร้าง ้ พฤติกรรมการสร้างความรู้ ของนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา วิทยานิพนธ์ของ.. ศิวนิต อรรถวุฒิกุล สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2551 ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห
  • 2. ความเป็นมาและความสำาคัญของ ปัญหา  การเปลียนแปลงของยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ ่  ศึกษาแนวคิด KM (Knowledge Management) ของ Ikujiro Nonaka and Hirotaka Takeuchi (SECI Model : Socialization+Externalization+Combination+Interalization)  ศึกษาแนวคิด KM (Knowledge Management) กับการศึกษา จากต่าง ประเทศ (อเมริกา, มาเลเซีย)  ศึกษาแนวคิด KM (Knowledge Management) กับการศึกษา ในประเทศไทย - การนำาแนวคิด KM มาประยุกต์ใช้ในสถาบันอุดมศึกษา (UKM), โครงการวิจัยฯ (สคส.+สกว.+สกศ.) และการศึกษาขั้นพื้นฐาน - แนวคิดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assisted Learning : PAL) มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีการเรียนรู้ทางด้านสังคม และลัทธิสร้างสรรค์นิยม (Social learning Theory and Constructivism) - แนวคิด ทฤษฎีคอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร่วมมือ (Computer Support Collaborative Learning : CSCL)...เพื่อสร้าง เครื่องมือคอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร่วมมือ - พัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร่วมมือ ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห ผู ่อน
  • 3. วัตถุประสงค์ 1. วัตถุประสงค์ทวไป ั่  เพื่อพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร่วมมือ ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพือน เพื่อสร้างพฤติกรรมการ ่ สร้างความรู้ของนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2. วัตถุประสงค์เฉพาะ  เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับองค์ประกอบ และขัน ้ ตอนของกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุน การเรียนรู้อย่างร่วมมือ ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบเพือนช่วยเพื่อน ่ เพื่อสร้างพฤติกรรมการสร้างความรู้ของนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิต ศึกษา  เพื่อสร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุน การเรียนรู้อย่างร่วมมือ ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบเพือนช่วยเพื่อน ่ เพื่อสร้างพฤติกรรมการสร้างความรู้ของนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิต ศึกษา  เพื่อศึกษาผลการใช้กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้ คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร่วมมือ ตามแนวคิดการเรียนรู้ ่ ่ ผู้นำาเสนอ ..... นายวิช แบบเพือนช่วยเพื่อน เพือสร้างพฤติกรรมการสร้างความรู้ของนิสิต ิต ชาวะห
  • 4. คำาถามการวิจัย ?  กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้ คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรูอย่างร่วมมือ ้ ตามแนวคิดการเรียนรูแบบเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อ ้ สร้างพฤติกรรมการสร้างความรูของนิสิตนักศึกษา ้ ระดับบัณฑิตศึกษา มีองค์ประกอบและขั้นตอนอะไรบ้าง และทำา กิจกรรมอย่างไร  พฤติกรรมการสร้างความรู้ของนิสิตนักศึกษา เมื่อเรียนรูตามกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูโดย ้ ้ ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห
  • 5. สมมุติฐานการวิจัย  นิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ผ่าน กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้ คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรูอย่างร่วมมือ ้ ตามแนวคิดการเรียนรูแบบเพื่อนช่วยเพื่อนจะมี ้ พฤติกรรมการสร้างความรู้หลังการทดลองสูงกว่า ก่อนทดลองอย่างมีนยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ั และ มีผลคะแนนการประเมินผลงานอยู่ในระดับดี ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห
  • 6. ขั้นตอนการดำาเนินงานวิจัย  ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ขอมูลพื้นฐานที่ ้ เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของผู้ เชี่ยวชาญ เกี่ยวกับองค์ประกอบของกระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้  สร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้  ศึกษาผลการใช้งานกระบวนการแลกเปลี่ยน เรียนรู้เป็นเวลา 16 สัปดาห์  นำาเสนอกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่พัฒนา ขึ้น ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห
  • 7. สถิติที่ใช้  สถิตที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ิ  ความถี่  ร้อยละ  ค่าเฉลี่ย  ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน ่  Shapiro-Wilk test  t-test Dependent ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห
  • 8. ขอบเขตการวิจัย  การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรูอย่างร่วม ้ มือฯ  กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่  กลุ่มตัวอย่างสำาหรับสัมภาษณ์ความคิดเห็นเกี่ยว กับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จำานวน 7 คน  กลุ่มตัวอย่างที่เป็นเพื่อนร่วมเรียนรู้ สำาหรับศึกษา ผลการใช้งานกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูฯ คือ ้ นิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ที่ลงทะเบียน ในรายวิชา 2726795 การออกแบบการเรียนการสอน อิเล็กทรอนิกส์ ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห
  • 9. ขอบเขตการวิจัย (ต่อ)  การสร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ  องค์ประกอบของกระบวนการ 1. บุคคล 2. สาระความรู้ 3. เครื่องมือคอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร่วมมือ 4. การปรับเปลี่ยนและการจัดการพฤติกรรม 5. การประเมิน  ขั้นตอนของกระบวนการ 1. แนะนำาทาง สร้างกลุ่มสัมพันธ์ 2. กำาหนดความรู้ นำาไปสู่เป้าหมาย 3. สืบเสาะแสวงหา เพื่อพัฒนาผลงาน 4. พบปะแลกเปลี่ยน เพื่อนเรียนเพื่อนรู้ 5. สร้างสรรค์เผยแพร่ ร่วมแก้ร่วมปรับ 6. ประเมินผลงาน ผสานความคิด ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห
  • 10. ขอบเขตการวิจัย (ต่อ)  โปรแกรมคอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรูอย่าง ้ ร่วมมือที่พัฒนาขึ้น เพื่อใช้ในกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้  เครื่องมือบันทึกความรู้ (Weblog)  เครื่องมือร่วมคิดร่วมเขียน (Wikipedia)  เครื่องมือกระดานความรู้ (Web Board)  เครื่องมือคุยกันฉันท์เพื่อน (Chat/MSN)  เครื่องมือสารสัมพันธ์ (e-Mail) ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห
  • 11. กรอบแนวคิดการวิจัย ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต ชาวะห
  • 12. ผลการวิจัย  องค์ประกอบของกระบวนการที่พัฒนาขึ้น... 1) บุคคล 2) สาระความรู้ 3) เครื่องมือคอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรูอย่างร่วมมือ ้ 4) การปรับเปลี่ยนและ การจัดการพฤติกรรม และ 5) การประเมิน  ขั้นตอนของกระบวนการที่พัฒนาขึ้น... 1) ขั้นแนะนำา ทาง สร้างกลุ่มสัมพันธ์ 2) ขั้นกำาหนดความรู้ นำาไปสู่เป้าหมาย 3) ขั้นสืบเสาะ แสวงหา เพื่อพัฒนาผลงาน 4) ขั้นพบปะแลกเปลี่ยน เพื่อนเรียนเพื่อนรู้ 5) ขั้น สร้างสรรค์เผยแพร่ ร่วมแก้ร่วมปรับ และ 6) ขั้นประเมินผล งาน ผสานความคิด  กลุ่มตัวอย่าง มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการสร้างความรู้ ชาวะห ผู้นำาเสนอ ..... นายวิชิต