ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ตำนำนโหวด

  โหวดเป็ นเครื่ องดนตรี ของชาวอีสาน หรื อ ของเล่นชนิดหนึ่งของชาวอีสาน ใช้แกว่งเล่นเหมือนธนู
ต่อมาโหวดได้ดดแปลงมาเป็ นเครื่ องดนตรี พ้นเมืองอีสาน โหวดเกิดขึ้นในสมัยใดนั้น ยังไม่สามารถ
                   ั                           ื
บอกได้แน่นอนหรื อยืนยันได้ แต่ก็มีประวัติที่เล่าเป็ นนิยายปรัมปรา สื บต่อกันมา ดังนี้
           ในสมัยก่อนพุทธกาล มีเมืองหนึ่งชื่อเมืองพันทุมาลัย เมืองนั้นมีพระโพธิ สตว์ เสวยชาติมา
                                                                                    ั
เป็ นพระยาคางคก สมัยก่อนมีความเชื่อเรื่ องพระยาแถน เรื่ องฝน ฟ้ า อากาศ เจ็บไข้ได้ป่วยก็ไปบน
บานศาลกล่าวต่อพระยาแถน แต่พอมีพระยาคางคก ก็ทาให้คนและสัตย์หนไปนับถือพระยาคางคก
                                                                           ั
ทาให้พระยาแถนไม่พอใจ ฝนฟ้ าที่เคยตกต้องตามฤดูกาล ก็ทาให้เมืองนี้แห้งแล้งเป็ นเวลา 7 ปี 7
เดือน คนและสัตย์รวมทั้งพืชพันธ์ธญญาหารล้มตาย ทาให้มวลมนุษย์และสัตย์เดือดร้อนก็เลยทา
                                       ั
สงครามกับพระยาแถน แต่มนุษย์ก็ไม่ชนะสักที จึงมาปรึ กษากับพระยาคางคก พระยาคางคกก็รับ
                 ั
อาสาจะไปสู ้กบพระยาแถน พระยาคางคกก็นาทัพไปรบกับพระยาแถน แต่งตั้งให้พระยาปลวกทา
สะพานดินเป็ นถนนขึ้นสู่ เมืองพระยาแถน ให้พระยามดขึ้นไปสู่ เมืองพระยาแถนก่อนเพื่อไปเจาะ
ดาบอาวุธยุทธโธปกรณ์ ให้จวนจะหัก และพระยาตะขาบ แมงป่ อง อสรพิษทั้งหลายไปดักอยูตาม                 ่
เสื้ อผ้า อุปกรณ์ต่างๆ ที่ทหารพระยาแถนใช้ พอถึงวันแรม 7 ค่า พระยาคางคกก็นาทัพขึ้นไป
เจรจาขอฝนกับพระยาแถน พระยาแถนก็โกรธและไม่ประธานฝนให้ แล้วก็ประกาศสงครามกัน
แผนต่างๆ ที่พระยาคางคก วางเอาไว้ก็เริ่ มปฏิบติการ ตะขาบ แมงป่ อง ก็ออกมากัดทหารให้ลม
                                                 ั                                             ้
ตาย ส่ วนพระยาคางคกกับพระยาแถนก็ต่อสู ้กนบนหลังช้าง สู ้กนไปกันมา พระยาแถนใช้ดาบฟัน
                                                   ั             ั
พระยาคางคก ดาบก็หก จะใช้ตะขอเกี่ยว ตะขอก็หก ในที่สุดพระยาคางคกได้จงหวะ ก็ใช้บ่วงศ์
                        ั                            ั                            ั
(บ่วงนาคบาศก์) ดับพระยาแถนได้จนตกจากหลังช้าง พระยาแถนจึงยอมตกลงตามสัญญา โดยมี
เงื่อนไขกันอยู่ 3 ประการ คือ
            ประกำรที่ 1 ให้พระยาแถน ประทานน้ าฝนให้เหมือนเดิม ถึงเดือนหก ถ้าฝนไม่ตกมนุ ษย์
จะทาบั้งไฟ จุดขึ้นไปเป็ นการบอกกล่าว เตือนพระยาแถนให้ประทานฝนลงมาให้มนุษย์
            ประกำรที่ 2 การได้ยนเสี ยง กบ อึ่งอ่าง เขียดร้อง แสดงว่ามนุษย์ได้รับน้ าฝนแล้ว
                                  ิ
            ประกำรที่ 3 เมื่อใดที่ได้ฝนเพียงพอแล้วก็จะแกว่งโหวดขึ้นสู่ ทองฟ้ าให้เกิดเสี ยงดังเป็ น
                                                                         ้
สัญญาณ ให้พระยาแถนทราบว่าได้รับน้ าฝนเพยงพอแล้วเพื่อให้ลดปริ มาณฝนลง หรื อให้ฝนหยุด
ปั จจุบนนี้ โหวดเป็ นเครื่ องดนตรี ท่ีได้รับความนิยมมาก และเป็ นเครื่ องดนตรี ที่นามาบรรเลงเข้ากับ
         ั
เครื่ องดนตรี อีสานได้ เช่น พิณ แคน โปงลาง กลอง และเกิดเป็ นวงดนตรี พ้ืนเมืองอีสานดังปรากฏ
ในปั จจุบนนี้
            ั
่
สวนประกอบของโหวด




   1. ลูกโหวด ทามาจากไม้ไผ่เฮี้ย มีลกษณะผิวบาง
                                          ั
       2. ขี้สูท ใช้สาหรับติดลูกโหวด
       3. ไม้แกนโหวด ทาจากไม้ไผ่ใช้สาหรับติดยึดลูกโหวด
เทคนิคการเป่ าโหวดมีดงนี้
                        ั
                                                          ่                         ่
   1. ใช้มือซ้ายหรื อมือขวาจับโหวด โดยให้หวแม่มืออยูที่ลูกที่ 1ลูกใหญ่ นิ้วชี้ อยูในลูกที่ 4
                                               ั
   2. นาหัว (ตรงขี้ สูท) มาเป่ า โดยเป่ าลมออกให้เกิดเสี ยง และให้ขยับหาเสี ยงที่ชดมาที่สุด
                                                                                      ั
   3. ฝึ กเป่ าโดยการไล่เสี ยงจากเสี ยงสู งไปหาเสี ยงต่าหรื อ จากเสี ยงต่าไปหาเสี ยงสู ง
   4. ฝึ กเป่ าลมออกให้ยาวๆ
   5. ฝี กเป่ าลายง่ายๆ เช่น ลายโปงลาง เต้น เป็ นต้น
แบบฝึกการเป่าโหวด
การไล่บนไดเสี ยงโหวด
               ั




             ม     ร
        ซ               ด
ล                           ลฺ

ด                                ซฺ

    ร                       มฺ
        ม               ด
             ซ     ล    Y

More Related Content

แบบฝึกการเป่าโหวด

  • 1. ตำนำนโหวด โหวดเป็ นเครื่ องดนตรี ของชาวอีสาน หรื อ ของเล่นชนิดหนึ่งของชาวอีสาน ใช้แกว่งเล่นเหมือนธนู ต่อมาโหวดได้ดดแปลงมาเป็ นเครื่ องดนตรี พ้นเมืองอีสาน โหวดเกิดขึ้นในสมัยใดนั้น ยังไม่สามารถ ั ื บอกได้แน่นอนหรื อยืนยันได้ แต่ก็มีประวัติที่เล่าเป็ นนิยายปรัมปรา สื บต่อกันมา ดังนี้ ในสมัยก่อนพุทธกาล มีเมืองหนึ่งชื่อเมืองพันทุมาลัย เมืองนั้นมีพระโพธิ สตว์ เสวยชาติมา ั เป็ นพระยาคางคก สมัยก่อนมีความเชื่อเรื่ องพระยาแถน เรื่ องฝน ฟ้ า อากาศ เจ็บไข้ได้ป่วยก็ไปบน บานศาลกล่าวต่อพระยาแถน แต่พอมีพระยาคางคก ก็ทาให้คนและสัตย์หนไปนับถือพระยาคางคก ั ทาให้พระยาแถนไม่พอใจ ฝนฟ้ าที่เคยตกต้องตามฤดูกาล ก็ทาให้เมืองนี้แห้งแล้งเป็ นเวลา 7 ปี 7 เดือน คนและสัตย์รวมทั้งพืชพันธ์ธญญาหารล้มตาย ทาให้มวลมนุษย์และสัตย์เดือดร้อนก็เลยทา ั สงครามกับพระยาแถน แต่มนุษย์ก็ไม่ชนะสักที จึงมาปรึ กษากับพระยาคางคก พระยาคางคกก็รับ ั อาสาจะไปสู ้กบพระยาแถน พระยาคางคกก็นาทัพไปรบกับพระยาแถน แต่งตั้งให้พระยาปลวกทา สะพานดินเป็ นถนนขึ้นสู่ เมืองพระยาแถน ให้พระยามดขึ้นไปสู่ เมืองพระยาแถนก่อนเพื่อไปเจาะ ดาบอาวุธยุทธโธปกรณ์ ให้จวนจะหัก และพระยาตะขาบ แมงป่ อง อสรพิษทั้งหลายไปดักอยูตาม ่ เสื้ อผ้า อุปกรณ์ต่างๆ ที่ทหารพระยาแถนใช้ พอถึงวันแรม 7 ค่า พระยาคางคกก็นาทัพขึ้นไป เจรจาขอฝนกับพระยาแถน พระยาแถนก็โกรธและไม่ประธานฝนให้ แล้วก็ประกาศสงครามกัน แผนต่างๆ ที่พระยาคางคก วางเอาไว้ก็เริ่ มปฏิบติการ ตะขาบ แมงป่ อง ก็ออกมากัดทหารให้ลม ั ้ ตาย ส่ วนพระยาคางคกกับพระยาแถนก็ต่อสู ้กนบนหลังช้าง สู ้กนไปกันมา พระยาแถนใช้ดาบฟัน ั ั พระยาคางคก ดาบก็หก จะใช้ตะขอเกี่ยว ตะขอก็หก ในที่สุดพระยาคางคกได้จงหวะ ก็ใช้บ่วงศ์ ั ั ั (บ่วงนาคบาศก์) ดับพระยาแถนได้จนตกจากหลังช้าง พระยาแถนจึงยอมตกลงตามสัญญา โดยมี เงื่อนไขกันอยู่ 3 ประการ คือ ประกำรที่ 1 ให้พระยาแถน ประทานน้ าฝนให้เหมือนเดิม ถึงเดือนหก ถ้าฝนไม่ตกมนุ ษย์ จะทาบั้งไฟ จุดขึ้นไปเป็ นการบอกกล่าว เตือนพระยาแถนให้ประทานฝนลงมาให้มนุษย์ ประกำรที่ 2 การได้ยนเสี ยง กบ อึ่งอ่าง เขียดร้อง แสดงว่ามนุษย์ได้รับน้ าฝนแล้ว ิ ประกำรที่ 3 เมื่อใดที่ได้ฝนเพียงพอแล้วก็จะแกว่งโหวดขึ้นสู่ ทองฟ้ าให้เกิดเสี ยงดังเป็ น ้ สัญญาณ ให้พระยาแถนทราบว่าได้รับน้ าฝนเพยงพอแล้วเพื่อให้ลดปริ มาณฝนลง หรื อให้ฝนหยุด ปั จจุบนนี้ โหวดเป็ นเครื่ องดนตรี ท่ีได้รับความนิยมมาก และเป็ นเครื่ องดนตรี ที่นามาบรรเลงเข้ากับ ั เครื่ องดนตรี อีสานได้ เช่น พิณ แคน โปงลาง กลอง และเกิดเป็ นวงดนตรี พ้ืนเมืองอีสานดังปรากฏ ในปั จจุบนนี้ ั
  • 2. ่ สวนประกอบของโหวด 1. ลูกโหวด ทามาจากไม้ไผ่เฮี้ย มีลกษณะผิวบาง ั 2. ขี้สูท ใช้สาหรับติดลูกโหวด 3. ไม้แกนโหวด ทาจากไม้ไผ่ใช้สาหรับติดยึดลูกโหวด เทคนิคการเป่ าโหวดมีดงนี้ ั ่ ่ 1. ใช้มือซ้ายหรื อมือขวาจับโหวด โดยให้หวแม่มืออยูที่ลูกที่ 1ลูกใหญ่ นิ้วชี้ อยูในลูกที่ 4 ั 2. นาหัว (ตรงขี้ สูท) มาเป่ า โดยเป่ าลมออกให้เกิดเสี ยง และให้ขยับหาเสี ยงที่ชดมาที่สุด ั 3. ฝึ กเป่ าโดยการไล่เสี ยงจากเสี ยงสู งไปหาเสี ยงต่าหรื อ จากเสี ยงต่าไปหาเสี ยงสู ง 4. ฝึ กเป่ าลมออกให้ยาวๆ 5. ฝี กเป่ าลายง่ายๆ เช่น ลายโปงลาง เต้น เป็ นต้น
  • 4. การไล่บนไดเสี ยงโหวด ั ม ร ซ ด ล ลฺ ด ซฺ ร มฺ ม ด ซ ล Y