ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
รระะดดับับ 
ภภาาษษาา
รระะึϸับับภภาาษษาา
ระดับ 
ภาษา
ดับของภาษาแบ่งตาม การใช้ภาษาตามสัมพันบุคคล ตามโอกาสและกาลเทศะ แบ่งออกเป็น
ภาษาแบบแผน 
ภาษาที่เป็นทางการ 
ภาษากึ่งแบบแผน 
ภาษากึ่งทางการ 
ภาษาปาก 
ภาษาไม่เป็นทางการ 
ข้าพเจา้ กระผม ดิฉัน ผม ฉัน เรา ผม ฉัน หนู 
บิดา คุณพ่อ พ่อ 
มารดา คุณแม่ แม่ 
โรงภาพยนตร์โรงหนัง โรงหนัง 
ใบอนุญาตขับรถยนต์ ใบขับขี่ ใบขับขี่ 
หนังสือรับรอง ใบรับรอง ใบรับรอง 
ดวงตราไปรษณียากร 
แสตมป์ แสตมป์ 
กรุงเทพมหานคร กรุงเทพ ฯ บางกอก 
ศีรษะ หัว กบาล 
ฌาปนกิจศพ 
ปลงศพ เผาศพ 
ประทับตรา 
ตีตรา ตีตรา ปั๊มตรา 
รับประทาน กิน ยัด แดก ซัด กิน ยัด แดก ซัด 
ดื่มสุรา ดื่มเหล้า กินเหล้า ถองเหล้า ซัด 
เหล้า 
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง ภาษาระดับทางการ 
ขอพระบรมเดชานุภาพมหึมาแห่งสมเด็จ 
พระบูรพมหากษัตริยาธิราชจงคุ้มครองประเทศ 
ชาติและประชาชนชาวไทยให้ผ่านพ้นสรร 
พอุปัทว์พิบัติภัยทงั้ปวง อริราชศัตรูภายนอกอย่า 
ล่วงเข้าทำาอันตรายได้ ศัตรูหมพู่าลภายในให้ 
วอดวายพ่ายแพ้ภัยตัว บันดาลความสุข ความ 
มนั่คงให้บังเกิดทวั่ภูมิมณฑล บันดาลความ 
ร่มเย็นแก่อเนกนิกรชน ครบคามเขตขอบ 
ขัณฑสีมา 
(ภาวาส บุนนาค. “ราชาภิสดุดี” ในภาษาพิจารณ ์เล่ม 
๒ หน้า ๑๓๙-๑๔๐)
ตัวอย่าง ภาษาระดับกึ่งทางการ 
ฉะนนั้ ในช่วงทเี่รียนอยู่ในระดับมัธยม 
ผู้ที่มีความขยันมุ่งมั่นจะเข้ามหาวิทยาลัยให้ 
ได้ จะไม่สนใจสิ่งแวดล้อมรอบกายทงั้สิ้น 
ยกเว้นสิ่งที่เขาคิดว่าจะสามารถทำาให้เสอบ 
เข้ามหาวิทยาลัยได้ ชีวิตนักเรียนมัธยมจึงมี 
แต่ติว ติวและติว กีฬาฉันไม่เล่น กิจกรรม 
ฉันไม่มีเวลาทำา และยงิ่ห้องสมุดฉันไม่ทราบ 
ว่าจะเข้าไปทำาไมเพราะเวลาทั้งหมดจะต้อง 
ใช้ท่องตำาราอย่างเดียว แล้วก็มักจะประสบ 
ความสำาเร็จตามทคีิ่ดเสียด้วย คือ สอบเข้า 
มหาวิทยาลัยได้ 
(เปล่งศรี อิงคนินันท์. “ต้องขอใหอ้าจารย์ช่วย” 
ก้าวไกล. ปีที่๒ ฉบับที่๔ หน้า ๒๗ )
ตัวอย่าง ภาษาปาก 
“เฮ้ย ใครเอาหมาตายมาโยนไว้ในวัด เหมน็ 
วายร้ายเลย” 
อีกคนหนึ่งค้านว่า “ข้าไมเ่หน็มีหมานหี่ว่า” 
แหงนหน้าขึ้นทำาจมกูย่น “ถา้ปู่บุญแกคงทำา 
กับข้าวทิ้งไว้จนบูดเหม็นเน่ากระมังวะ” “ฮึ” ทำาเสียง 
ค้านในคอ หยิบก้อนอิฐก้อนหนึ่งปาไปโดนฝาบ้านดัง 
ปุ ร้องเรียกด้วยว่า “ปู่ ปู่ ทำาอะไรน่ะ เหมน็จะ 
ตายโหงไป” เงียบไม่มีเสียงตอบ พวกเด็กๆมองดูหน้า 
แล้วก็มองทกี่ระทอ่มนนั้ คนโตที่สดุตัดบทว่า “ แกไม่ 
อยหู่รอก อย่าไปเรียกแกเลย เหมน็นักเราก็ไปเล่น 
ทางวิหารโน่นดีกว่า” แล้วก็ชวนกันวิ่งตามไปเป็น 
พรวน ทงิ้กระท่อมซอมซ่อนั้นให้อยู่ในความสงบ 
ต่อไป 
(ก.สุรางคนางค์. “ปู่บุญ” ภาษาสุนทร ๓ 
. หน้า ๑๑๑)
ตัวอย่างการเปรียบเทียบการใช้ภาษา 
ข้อความที่ ๑ 
ภาษาปาก : ผีสางข้าไม่กลัวอีกอย่างผีมัน 
ไม่หลอกคนในป่าช้า 
ภาษาระดับกึ่งทางการ : ข้าไม่เคยกลัวผี และอีก 
อย่างหนึ่งผีมันจะไม่ 
หลอกคนในป่าช้า 
ภาษาระดับทางการ : ข้าพเจ้าไม่เคยกลัวผี และ 
อีกประการหนึ่งข้าพเจ้า 
เชื่อว่าผีย่อมไม่หลอกคนในป่าช้า 
ข้อความที่ ๒ 
ภาษาปาก : กระทาชายนายนั้นเดินกะปลกกะ 
เปลี้ยขึ้นมาบน 
โรงพัก 
ภาษาระดับกึ่งทางการ : ชายคนนั้นเดินกะปลกกะ 
เปลี้ยขึ้นมาบนโรงพัก 
ภาษาระดับทางการ : ผู้ชายคนนั้นเดินขนึ้มาบน 
สถานีตำารวจด้วยกิริยา 
ของคนที่หมดแรง
หลักกกาารใใชช้้ภภาาษษาาใใหห้ถ้ถููกตต้อ้อง 
ตตาามรระะึϸับับภภาาษษาา 
การใช้ภาษาระดับใดในการสื่อสาร 
จึงจะเหมาะสมนนั้ ควรพิจารณาดังนี้ 
๑.สัมพันธภาพระหว่างบุคคล 
๒. กาลเทศะ 
๓. เนื้อของสาระ 
๔. วิธีการสื่อสาร
กกาารใใชช้ค้คำาำาศศัพัพทท์ท์ทาาง 
ววิิชชาากกาารแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี
คคำาำาศศัพัพทท์ท์ทาางววิิชชาากกาาร 
คำาศัพท์ทางวิชาการ หมาย 
ถึง คำาศัพท์ที่ใช้เฉพาะวงการ 
วิชาการ หรือวงการอาชีพ ส่วน 
มากจะพบในงานเขียนทาง 
วิชาการ 
เช่น ตำารา บทความ 
หนังสืออ้างอิง 
หรือในการประชุมทาง
ตตัวัวอยย่่าางคคำาำาศศัพัพทท์ท์ทาาง 
ววิิชชาากกาาร คำาศัพท์ในวงการธุรกิจ เช่น 
อุปสงค ์ อุปทาน หนุ้ ดรรชนี งบดุล 
ผู้ผลิต ผู้บริโภค 
คำาศัพท์ในวงการแพทย์ เช่น 
โคม่า ไอซียู โอพีดี 
 อายุรแพทย์ วิสัญญีแพทย์ 
ศัลยแพทย์ 
คำาศัพท์ในวงการศึกษา เช่น 
ความคิดรวบยอด แผนการจดัการ
ศศััพทท์์ 
คณคอิิตรต์ดศศาาหมสสาตยถรรึง์์ เส้นตรงที่เชื่อมจุด 2 จุด 
บนเส้นโค้งใดๆ 
โคไซน์ หมายถึง โคไซน์ของมุมใดคือ 
อัตราส่วน 
ความยาวของด้านประชิดมุมนั้น 
ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากใน 
เมื่อถือเอารูปสามเหลี่ยมมุมฉากเป็น 
หลัก 
ทฤษฎีบท หมายถึง ข้อความที่พิสูจน์
ศศััพทท์์ 
เเศศรษฐศศาาสตรร์์ 
ดุลการชำาระเงิน หมายถึง 
ความต่างกันระหว่าง 
ปริมาณเงินที่ส่งออกนอก 
ประเทศกบั ปริมาณเงินที่นำา 
เข้ามาในประเทศ 
หุ้นบุริมสิทธิ หมายถึง หุ้น 
ที่ได้รับส่วนแบ่งในผลกำาไร
ศศััพทท์ก์กฎหมมาาย 
คดีดำา หมายถงึ คดีทยีั่งอยู่ใน 
ระหวา่งการ 
พิจารณาของศาล 
กระทงความ หมายถึง ข้อ 
หนงึ่ๆของความ 
อาญาที่วินิจฉัยความผิด 
เป็น 
กิจจะลักษณะต่างกัน 
คดีอาญา หมายถึง ศาลที่ชำาระ
ศศัพัพทท์ว์วิิชชาากกาาร 
ททั่วั่วไไปป 
สารเสพติด หมายถึง สารเคมีที่มฤีทธิ์เมื่อ 
เสพเข้าสรู่่างกายแล้ว ทำาให้ผู้เสพเลิกไม่ 
ได้ ต้องเสพอีก 
โรคพิษสุราเรื้อรัง หมายถึง โรคที่เกิด 
จากการดื่มสุรามากเป็นเวลานาน มีอาการ 
สมองและประสาทเสอื่ม มือสั่น เดินเซ สติ 
ปัญญาเสื่อม
คคำาำาศศััพทท์์ททาางเเททคโโนนโโลลยยีี 
คำาศัพท์ทางเทคโนโลยี หมายถึง คำา 
ศัพทท์ี่เกิดขึ้นจากวิทยาการทางคอมพิวเตอร์ 
หรือเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมีบทบาท 
สำาคัญในชีวิตประจำาวันทั้งในด้านการทำางาน 
และการศึกษาหาความรู้ 
ตัวอย่างคำาศัพท์ทางเทคโนโลยี 
ดิจติอล (digital) แฟ้มข้อมูล (file) รายการ 
เลือก (menu) จอภาพ (monitor) เครือข่าย 
(network) เครื่องพิมพ์ (printer) นักเขียน 
โปรแกรม (programmer) 
 การใช้คำาศัพท์ทางวิชาการและ 
เทคโนโลยีให้ถูกต้อง ควรศึกษาค้นคว้าความ 
หมายของคำาศัพท์ได้จากพจนานุกรมศัพท์
การใใชช้เ้เททคโโนนโโลลยยีสีสาารสนเเททศ 
เเพพอื่ปรระะโโยยชนน์ท์ทาางววิชิชาากกาาร 
ขั้นตอนการใช้มีดังนี้ 
๑.การสืบค้นข้อมูลจากระบบ 
อินเทอร์เน็ต 
๒. การพิจารณาข้อมูล 
๓. การจัดเก็บข้อมูลและการนำาข้อมูล 
มาใช้งาน 
๔. การอ้างอิงข้อมูล
ตัวอยย่า่างคคำาำาศศััพทท์ท์ทาางววิชิชาาชชีพีพ 
ววิชิชาาชชีีพ หมมาายถถึงึง ออาาชชีีพทที่ตี่ต้อ้องออาาศศัยัย 
ววิชิชาาคววาามรรู้คู้คววาามชชำาำานนาาญ 
Internet อินเทอร์เน็ต Digital 
ดิจิทัล 
Graphic กราฟิก Click 
คลิก 
Mouse เมาส์ Electronics 
อิเล็กทรอนิกส์ 
Web site เว็บไซต์ Script 
สคริปต์ 
Software ซอฟต์แวร์ Browser เบ 
ราว์เซอร์ 
Bandwidth แบนด์วิดท์ E-mail
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
รายการคำาทับศัพท์รวบรวมจากการสะกดตาม 
ราชบัณฑิตยสถาน 
A-Z 
Acre = เอเคอร์ Acrylic = อะคริลิก Address = 
แอดเดรส 
Air = แอร์ Alcohol = แอลกอฮอล์ Almond = อัล 
มอนด์ 
Alpha = แอลฟา Aluminum = อะลูมิเนียม Ameba = อะมีบา 
Amethyst = แอเมทิสต์ Ampere = แอมแปร์ Amplitude = 
แอมพลิจูด 
Analog = แอนะล็อก Anti- = แอนติ- Antibody = 
แอนติบอดี 
Arabic = อารบิก Art = อาร์ต Artwork = อาร์ตเวิร์ก 
Asphalt = แอสฟัลต์ Atlantic = แอตแลนติก Auto- = ออ 
โต- 
Bacteria = แบคทีเรีย Ball = บอล Ballet = บัล 
เลต์ 
Balloon = บอลลูน, บัลลูน Bank = แบงก์ Bar = บาร์
รายการคำาทับศัพท์รวบรวมจากการสะกดตาม 
ราชบัณฑิตยสถาน 
A-Z 
Barrel = บาร์เรล Base = เบส BASIC = (ภาษา)เบสิก 
Battery = แบตเตอรี่ Block = บล็อก Board = บอร์ด 
Body = บอดี Bonus = โบนัส Brake = เบรก 
Bus = บัส Byte = ไบต์ Cable = เคเบิล 
Caffeine = คาเฟอีน, แคฟเฟอีน, กาเฟอีน Cake = เค้ก 
Calcium = แคลเซียม Calorie = แคลอรีCapsule = แคปซูล 
Carbon = คาร์บอน Carbon dioxide = คาร์บอนไดออกไซด์ 
Carbon monoxide = คาร์บอนมอนอกไซด์ Carbonate = 
คาร์บอเนต 
Card = การ์ด Cartoon = การ์ตูน Catalog = แค็ตตาล็อก 
Catholic = คาทอลิก CD-ROM = ซีดีรอม Cell = เซลล์
รายการคำาทับศัพท์รวบรวมจากการสะกดตามราชบัณฑิตยสถาน 
A-Z 
celsius = เซลเซียส cement = ซีเมนต์ center = 
เซนเตอร์, เซ็นเตอร์ 
ceramic = เซรามิก chalk = ชอล์ก charge = 
ชาร์จ 
check = เช็ก chlorine = คลอรีน chlorophyll 
= คลอโรฟิลล์ 
choke = โช้ก class = คลาส classic = คลาสสิก 
click = คลิก clinic = คลินิก computer = 
คอมพิวเตอร์ 
club = คลับ cookie = คุกกี้ consul = กงสุล 
cluster = คลัสเตอร์ column = คอลัมน์ coma = 
โคม่า 
commando = คอมมานโด communist = คอมมิวนิสต์
ศศััพทท์บ์บััญญญัตัติิ
ระดับภาษา 2
ตตัวัวอยย่า่างศศัพัพทท์บ์บััญญญัตัติิ 
 แฟลต , อพาร์ตเมน้ต์ = หอ้งชุด 
 คอมพิวเตอร์ = คณิตกรณ์ 
 ดีวีดี = แผ่นวีดีทัศน์ระบบดิจิตอล 
 ปริ้นเตอร์ = เครื่องพิมพ์ 
 อินฟีนีตี้ = อนันต์ 
 ซิมการ์ด = บัตรระบุผู้เช่า 
 ซิม = มอดูลระบุผู้เช่า 
 จอยสติ๊ก = ก้านควบคุม 
 ซีพียู = หน่วยประมวลผลกลาง 
 คีย์บอร์ด = แผงแป้นอักขระ
วิทยุ จากคำา Radio 
คมนาคม จากคำา Communication 
ไปรษณียบัตร จากคำา Post card 
บรรณาธิการ จากคำา Editor 
ตำารวจ จากคำา Police 
โทรเลข จากคำา Telegram 
โทรศัพท ์จากคำา Telephone 
ธนาคาร จากคำา Bank 
ห้องสมดุ จากคำา Library 
เอกอัครราชทูต จากคำา Ambassador ฯลฯ
นอกจากนี้ ยังทรงบัญญัติศัพท์ขึ้นใช้แทน 
คำาไทยที่ใช้กันอยู่และทรงเห็นว่ายังไม่ 
เหมาะสม เช่น 
นาง นางสาว ใช้แทน อำาแดง 
โรคระบาด ใช้แทน โรคติดต่อ 
กรมชลประทาน ใช้แทน กรมทดนำ้า 
สภากาชาด ใช้แทน สภาอนุโลม 
แดง ฯลฯ
 ส่วนคำำที่จำำเป็นต้องใช้ในกิจกำรที่เพิ่ง 
ริเริ่มขึ้นในเวลำนั้นก็ทรงบัญญัติขึ้นด้วย 
เช่น 
เครื่องบิน มหำวิทยำลัย 
คณบดี ไชโย 
ธนำคำรออมสิน นำมสกุล 
พุทธศักรำช อักษรศำสตร์ 
วิทยำศำสตร์ อนุบำล ฯลฯ
กำรใช้ศัพท์บัญญัติ คำำทับศัพท์ คำำ 
เฉพำะกลุ่ม 
 และคำำเฉพำะ 
วงกำร 
 ภำษำไทยมีกำรเปลี่ยนแปลง 
อยู่ตลอดเวลำ กำรเปลี่ยนแปลงของภำษำ 
ไทยทำำให้เกิดศัพท์บัญญัติ คำำทับศัพท์ 
คำำเฉพำะกลุ่ม และคำำในวงกำรต่ำง ๆ ซึ่ง 
นักเรียนจะได้ศึกษำใน บทนี้
สสำำเเหหตตุทุทที่ที่ำำำำใใหห้้เเกกิิดศศััพทท์์บบัญัญญญัตัติิ 
คคำำำำททับับศศััพทท์์ คคำำำำเเฉฉพพำำะะกลมุ่ 
แแลละะคคำำำำเเฉฉพพำำะะ 
วงกกำำร ๑. กำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดจำกปัจจัย 
จำกภำยนอก 
 อิทธิพลที่เกิดจำกต่ำงประเทศ 
 ยืมคำำจำกภำษำบำลี สันสกฤต 
เขมร มำใช้เป็นจำำนวนมำก 
 ภำษำเปลี่ยนไปตำมวิทยำกำรของ 
โลกตะวันตก 
๒. กำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดจำกปัจจัย 
ภำยใน เป็นผลจำกควำม 
แตกต่ำงกันของผใู้ช้ 
ได้แก่
กกำำรใใชช้้ศศััพทท์์บบัญัญญญัตัติิ แแลละะคคำำำำ 
ททับับศศัพัพทท์์ 
 
รำชบัณฑิตยสถำนจึงบัญญัติศัพท์ใช้หลัก 
เกณฑ์ดังต่อไปนี้คือ 
 ๑. หำคำำไทยที่มีควำมหมำย 
เหมือนกัน หรือใกล้เคียงกันมำกที่สุดมำใช้ 
แทนคำำศัพท์ที่ ยืมมำ เช่น 
Pattern กระสวน 
standpoint จุดยืน Electric ไฟ 
ฟ้ำ red cross กำชำด 
 ๒. ในกรณีที่หำคำำไทยมำใช้แทนคำำยืม 
ภำษำต่ำงประเทศไม่ได้ จะใช้คำำบำลี 
สันสกฤต เขมร มำสร้ำงเป็นศัพท์ใหม่ 
โดยอำจจะประสมคำำไทย หรืออำจจะใช้ 
คำำบำลี สันสกฤต ล้วน ๆ ก็ได้ เช่น 
Television โทรทัศน์ (tele = โทร
กกำำรใใชช้้ศศััพทท์์บบัญัญญญัตัติิ แแลละะคคำำำำ 
ททับับศศัพัพทท์์ 
๓. ในกรณีที่หำคำำบำลี สันสกฤต เขมร 
มำบัญญัติศัพท์ใหม่ไม่ได้ จะใช้กำร 
ทับศัพท์ เช่น 
Crosstitch ครอสติตซ์ 
 Night club ไนต์คลับ 
Swrater สเวตเตอร์ 

หลลัักเเกกณฑฑ์์กกำำรททัับศศััพทท์์ 
พยัญชนะภำษำอังกฤษ พยัญชนะภำษำไทย ตัวอย่ำง 
B C Ch D F G H J 
K L M N 
บ ค ช ด ฟ จ,ก 
ฮ จ ค,ก ล ม น 
Base 
เบสCat 
แคตChicago 
ชิคำโกDead Sea 
เดดซีFox ฟอก 
ซ์Engineer เอนจิ 
เนียร์Galaxy 
กำแล็กซีHaematite ฮีมำ 
ไทด์Jim 
จิมKansas 
แคนซัสYork 
ยอร์กLocket 
ล็อกเกตMicro 
ไมโครNucleus 
นิวเคลียส 
ตำรำงเทียบเสียงพยัญชนะโดยสังเขป
ตำรำงเทียบเสียงพยัญชนะโดยสังเขป 
พยัญชนะภำษำอังกฤษ พยัญชนะภำษำไทย ตัวอย่ำง 
P Ph Q R S 
TThVWXYZ 
พ,ป ฟ ก ร ซ,ส,ช 
ท ท ว ว ซ ย ซ 
Parabola 
พำรำโบลำCapsule 
แคปซูลPhosphorus 
ฟอสฟอรัสQatar 
กำตำร์Radium 
เรเดียมSilicon 
ซิลิคอนSweden 
สวีเดนLagos 
ลำกอสTrombone 
ทรอมโบนThorium 
ทอเรียมVolt 
โวลต์White 
ไวต์Xenon 
ซีนอนYale 
เยลZone โซน
สระ ภำษำอังกฤษ สระภำษำไทย ตัวอย่ำง 
A E แอ อะ อำ เออ อ อี 
เอ อิ เอะ 
Badminton 
แบดมินตันAluminium 
อะลูมิเนียมChicago 
ชิคำโกAsia 
เอเซียFootball1 
ฟุตบอลSweden 
สวีเดนLebanon 
เลบำนอนElectronics 
อิเล็กทรอนิกส์Mexico 
เม็กซิโก
สระ ภำษำอังกฤษ สระภำษำไทย ตัวอยำ่ง 
I O U อิ อีไอ โอ ออ อะ อูอะอิ 
อุ อู อี 
King 
คิงSki 
สกีLiberia 
ไลบีเรียCairo 
ไคโรTom 
ทอมWashington 
วอชิงตันToday 
ทู 
เดย์Hungary 
ฮังกำรีCuba 
คิวบำLiliput 
ลิลลิ 
พุตKuwait 
คูเวตUranium 
ยูเรเนียมBusy 
บีซี 
ตำรำงเทียบเสียงพยัญชนะโดยสังเขป
ระดับภาษา 2

More Related Content

What's hot (20)

PPT
ระึϸบྺองภาษา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PDF
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
อัมพร ศรีพิทักษ์
PDF
ประโยคที่ซับซ้อน
พัน พัน
PDF
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสȨิ
Surapong Klamboot
PDF
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
teerachon
DOCX
คำประสม
Arocha Chaichana
PDF
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสัȨรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
PDF
แบบรายงาȨารแสึϸทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
PPTX
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
Wan Wan
PDF
การเขียนข้อสอบวัึϸฤติกรรมด้าȨุทธิพิสัย
Benjapron Seesukong
PDF
ตัวอย่างบัȨึกข้อความ
nurmedia
PPT
งาȨำเสนอมัทȨพาธา
Santichon Islamic School
PDF
แบบประ๶มิȨักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
PDF
2ชุึϸึกทักษะกระบวȨารคิึϸามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
PDF
โครงงาȨาษาไทย๶รื่องนิทาน
Rawinnipha Joy
PDF
๶ทียนหอมสมุȨพรไล่ยุง
BoomCNC
PDF
๶กณฑ์การประ๶มิȨูบริคส์
Lamai Fungcholjitt
PDF
คำยืมภาษาต่างประ๶ทศในภาษาไทย
พัน พัน
PDF
ȨราศนริȨร์คำโคลง
Surapong Klamboot
PDF
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
ระึϸบྺองภาษา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
อัมพร ศรีพิทักษ์
ประโยคที่ซับซ้อน
พัน พัน
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสȨิ
Surapong Klamboot
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
teerachon
คำประสม
Arocha Chaichana
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสัȨรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
แบบรายงาȨารแสึϸทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
Wan Wan
การเขียนข้อสอบวัึϸฤติกรรมด้าȨุทธิพิสัย
Benjapron Seesukong
ตัวอย่างบัȨึกข้อความ
nurmedia
งาȨำเสนอมัทȨพาธา
Santichon Islamic School
แบบประ๶มิȨักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
2ชุึϸึกทักษะกระบวȨารคิึϸามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
โครงงาȨาษาไทย๶รื่องนิทาน
Rawinnipha Joy
๶ทียนหอมสมุȨพรไล่ยุง
BoomCNC
๶กณฑ์การประ๶มิȨูบริคส์
Lamai Fungcholjitt
คำยืมภาษาต่างประ๶ทศในภาษาไทย
พัน พัน
ȨราศนริȨร์คำโคลง
Surapong Klamboot
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ

Similar to ระดับภาษา 2 (20)

PDF
คำทับศัพท์
phornphan1111
PDF
คำทับศัพท์
phornphan1111
DOCX
ชุึϸึกทักษะเพื่อพัոาการ๶รียนคำประสม
krupanida sornkheang
PDF
คำยืมภาษาต่างประเทศ ภาษาบาลี สันสกฤต จีน อังกฤษ ญี่ปุ่น เขมร ชวา มลายู
pantita7391
PPT
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
duangchan
DOC
แผȨารจัึϸาร๶รียนรู้
สุกัญญา สุวรรณรัตน์
PDF
แผȨารจัึϸาร๶รียนรู้
สุกัญญา สุวรรณรัตน์
PDF
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526และที่แก้ไขเพิ่มเ...
ประพันธ์ เวารัมย์
PDF
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
ปวริศา
PDF
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
noukae
PDF
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
noukae
PDF
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
rattasath
PDF
ใบงาȨำที่มาจากภาษาต่างประ๶ทศ
ssuser456899
PDF
Phuchongkhaprayatachan
Piyarerk Bunkoson
DOCX
ก.พ.57
Yuwadee Kumyu
PDF
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
Anchalee BuddhaBucha
PDF
การสัง๶กตคำที่มาจากภาษาอื่น
kruthai40
PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
Nook Kanokwan
PPT
ติวเตรียมสอบ O net
vanichar
DOCX
IS ตามรอยอักษรโบราณ
absinthe39
คำทับศัพท์
phornphan1111
คำทับศัพท์
phornphan1111
ชุึϸึกทักษะเพื่อพัոาการ๶รียนคำประสม
krupanida sornkheang
คำยืมภาษาต่างประเทศ ภาษาบาลี สันสกฤต จีน อังกฤษ ญี่ปุ่น เขมร ชวา มลายู
pantita7391
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
duangchan
แผȨารจัึϸาร๶รียนรู้
สุกัญญา สุวรรณรัตน์
แผȨารจัึϸาร๶รียนรู้
สุกัญญา สุวรรณรัตน์
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526และที่แก้ไขเพิ่มเ...
ประพันธ์ เวารัมย์
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
ปวริศา
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
noukae
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
noukae
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
rattasath
ใบงาȨำที่มาจากภาษาต่างประ๶ทศ
ssuser456899
Phuchongkhaprayatachan
Piyarerk Bunkoson
ก.พ.57
Yuwadee Kumyu
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
Anchalee BuddhaBucha
การสัง๶กตคำที่มาจากภาษาอื่น
kruthai40
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
Nook Kanokwan
ติวเตรียมสอบ O net
vanichar
IS ตามรอยอักษรโบราณ
absinthe39
Ad

More from ณรงค์ศักดิ์ กาหลง (20)

PPTX
คำราชาศัพท์
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PDF
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PDF
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PPT
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PPTX
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PPTX
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PPT
ระึϸบྺองภาษา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PPTX
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PPTX
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PPTX
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PPTX
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PPTX
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PPTX
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PPTX
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PPTX
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PPTX
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PPTX
1สมุนไพรลูกประคบ
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
PPTX
มหาเวสสัȨรชาดก
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
คำราชาศัพท์
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
ระึϸบྺองภาษา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
1สมุนไพรลูกประคบ
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
มหาเวสสัȨรชาดก
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
Ad

ระดับภาษา 2